ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกาะฟู้โกว๊ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
== เศรษฐกิจ ==
ผลิตภัณฑ์พื้นบ้านที่มีชื่อเสียงของเกาะคือ[[พริกไทย]]ดำ และ[[น้ำปลา]] ปลาที่จับได้ ส่วนใหญ่นำไปทำน้ำปลาและ[[ปลาร้า]] การปลูกพริกไทยจะปลูกทางตอนกลางของเกาะ เริ่มมีการทำฟาร์ม[[หอยมุก]] การท่องเที่ยวถือเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของเศรษฐกิจ มี[[ท่าอากาศยานฟู้โกว๊ก]]ที่มีสายการบินเชื่อต่อกับสนามบินใน[[ไซ่ง่อน]]คือ[[ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต]] และ[[ท่าอากาศยานสักซ้า]] และมีเรือแล่นไปยัง[[ฮาเตียน]]
 
== ประวัติศาสตร์ ==
ใน พ.ศ. 2379 [[พระบาทสมเด็จพระนโรดม หริรักษ์รามาธิบดี]]หรือพระองค์ด้วงทรงส่งข้อเสนอไปยัง[[ฝรั่งเศส]]ตามคำแนะนำของมงติญีงตีญี เพื่อขอเป็นพันธมิตรทางการทหารในการต่อต้านเวียดนาม และยินดียกเกาะฟู้กว๊กให้ฝรั่งเศสฟู้โกว๊กให้ฝรั่งเศส<ref>"Le Second Empire en Indo-Chine (Siam-Cambodge-Annam): l'ouverture de Siam au commerce et la convention du Cambodge”, Charles Meyniard, 1891, Bibliothèque générale de géographie</ref> แต่ข้อเสนอนี้ไม่ได้รับการพิจารณา<ref>"La Politique coloniale de la France au début du second Empire (Indo-Chine, 1852-1858)", Henri Cordier, 1911, Ed. E.J. Brill</ref> เมื่อสงครามระหว่างฝรั่งเศส สเปน และเวียดนามเริ่มขึ้น พระองค์ด้วงได้ส่งจดหมายไปยังนโปเลียนที่ 3 แห่งฝรั่งเศสอีก โดยกล่าวอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนโคชินจีนตอนล่าง ซึ่งรวมเกาะฟู้กว๊กฟู้โกว๊กด้วยว่าเป็นดินแดนของกัมพูชาที่ถูกเวียดนามยึดครอง พระองค์ด้วงได้ขอร้องฝรั่งเศสว่าอย่าได้รับดินแดนเหล่านี้จากเวียดนาม เพราะเป็นดินแดนของกัมพูชา แต่ ต่อมา ใน พ.ศ. 2410 เกาะฟู้กว๊กฟู้โกว๊กก็ถูกทหารฝรั่งเศสยึดครอง
 
หลังจากกัมพูชาได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส ได้เกิดข้อโต้แย้งเกี่ยวกับอธิปไตยเหนือเกาะนี้ ก่อนได้รับเอกราช จูสฌูล เบรวิเญ่เบรวีเย (Jules Brévié) ข้าหลวงประจำอินโดจีนฝรั่งเศส ได้กำหนด[[เส้นเบรวิเญ่เบรวีเย]]พื่อบ่งเขตการปกครองของเกาะในอ่าวไทย โดยด้านเหนือของเส้นให้อยู่ในเขตกัมพูชา ด้านใต้เป็นของโคชินจีน โดยเป็นการกำหนดเพื่อความสะดวกในการบริหารและการทำงานของตำรวจ แต่ไม่มีการตัดสินใจเกี่ยวกับอธิปไตยเหนือดินแดน ผลจากเส้นนี้ทำให้ เกาะฟู้กว๊ฟู้โกว๊กอยู่ในเขตโคชินจีน
 
หลังจากที่[[จีนแผ่นดินใหญ่]]อยู่ภายใต้การควบคุมของ[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]] ใน พ.ศ. 2492 นายพลฮวงเจีย ได้นำทหารฝ่ายสาธารณรัฐจีน 33,000 คนจาก[[มณฑลหูหนาน]]มาสู่เวียดนามและตั้งมั่นที่เกาะฟู้กว๊กฟู้โกว๊กก่อนจะกลับไปยังเกาะ[[ไต้หวัน]]ใน พ.ศ. 2496<ref>2009年03月31日, [http://news.ifeng.com/history/1/jishi/200903/0331_2663_1084838.shtml 抗日名将黄杰与最后一支离开大陆的国民党部队], 凤凰资讯</ref> ในปัจจุบันได้มีเกาะเล็กๆเล็ก ๆ ในทะเลสาบเช็งกิงในไต้หวันซึ่งสร้างขึ้นในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2498 และตั้งชื่อว่าฟู้กว๊กฟู้โกว๊กเพื่อรำลึกถึงเกาะที่พวกเขาเคยอยู่ ในระหว่าง[[สงครามเวียดนาม]] เกาะนี้เป็นที่คุมขังนักโทษขนาดใหญ่ของ[[เวียดนามใต้]] ใน พ.ศ. 2516 มีผู้ถูกคุมขังถึง 40,000 คน
 
ใน พ.ศ. 2510 พระนโรดม สีหนุได้แสดงความจำนงที่จะปรับปรุงเส้นเขตแดนให้เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ซึ่งรัฐบาล[[เวียดนามเหนือ]]ได้ยอมรับเส้นเขตแดนนี้ ใน พ.ศ. 2511 มีการเขียนบทความลงในวารสาร Kambudja ยอมรับว่าเกะฟู้กว๊เกาะฟู้โกว๊กอยู่ในเขตเวียดนาม ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2518 [[เขมรแดง]]ได้ส่งทหารเข้ายึดเกาะฟู้กว๊กฟู้โกว๊ก แต่เวียดนามสามารถยึดคืนมาได้ในเวลาอันสั้น ปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับเส้นเขตแดนนำไปสู่[[สงครามกัมพูชา-เวียดนาม]] ใน พ.ศ. 2522
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}