ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
|}}
 
'''ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล''' ([[16 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2435]] — [[5 กันยายน]] [[พ.ศ. 2492]]) ประสูติเมื่อวันที่ [[16 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2435]] ทรงเป็นพระโอรสใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา]]กับหม่อมเอม ทรงเสกสมรสกับ[[หม่อมเจ้าหญิงพิมพ์รำไพ รพีพัฒน์]] ทางด้านการศึกษาทรงรับประกาศนียบัตรชั้นสูงจากโรงเรียนเอาน์เดิล ประเทศอังกฤษ ศึกษาต่อระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรม วิทยาลัยซิตีแอนด์กิลด์ [[มหาวิทยาลัยลอนดอน]] และปริญญา B.Sc,A.R.C.S.,D.I.C. และปริญญา M.Sc. ในสาขาฟิสิกส์จาก Royal College Of science มหาวิทยาลัยลอนดอน
 
ในปีที่ประสูตินั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฉลองสิริราชสมบัติครบ 25 ปี<ref name="บี้">สัจธรรม. ''อาทิตย์อุไทย''. กรุงเทพฯ:ดีเอ็มจี. 2551, หน้า 188</ref> จึงมีเจ้านายทูลขอพระราชทานนาม ซึ่งพระองค์ได้รับพระราชทานนาม ''"รัชฎาภิเศก"'' สำหรับพระโอรสธิดาพระองค์อื่นที่ได้รับพระราชทานนามพร้อมกันกับพระองค์ คือ [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล|หม่อมเจ้าเฉลิมเขตรมงคล ภาณุพันธุ์]] พระธิดาใน[[สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช]] และ[[หม่อมเจ้ารัชลาภจีระฐิต ดิศกุล]] พระโอรสใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]<ref name="บี้"/>
 
หม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก เสกสมรสกับ[[หม่อมเจ้าหญิงพิมพ์รำไพ รพีพัฒน์]] และพระองค์สำเร็จการศึกษาทรงรับประกาศนียบัตรชั้นสูงจากโรงเรียนเอาน์เดิล ประเทศอังกฤษ ศึกษาต่อระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรม วิทยาลัยซิตีแอนด์กิลด์ [[มหาวิทยาลัยลอนดอน]] และปริญญา B.Sc,A.R.C.S.,D.I.C. และปริญญา M.Sc. ในสาขาฟิสิกส์จาก Royal College Of science มหาวิทยาลัยลอนดอน
 
ทรงรับราชการที่[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ตำแหน่งอธิบดีกรมวิชาการ อธิบดีกรมมหาวิทยาลัย อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการอำนวยการคุรุสภา ศาสตราจารย์ใน[[คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ทรงเป็น[[ศาสตราจารย์]]องค์แรกของประเทศไทย สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ [[5 กันยายน]] [[พ.ศ. 2492]]
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย}}