ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
RedBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: ky:Миокарддын инфекциясы แก้ไข: he:אוטם שריר הלב
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: gl:Infarto agudo de miocardio; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 18:
ผู้ป่วยที่สงสัยจะได้รับ[[การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ]] การถ่ายภาพ[[เอกซเรย์]]ทรวงอก และ[[การตรวจเลือด]]เพื่อดูความเสียหายของกล้ามเนื้อหัวใจ โดยตัวชี้วัดความเสียหายของกล้ามเนื้อหัวใจที่ใช้บ่อยคือ สัดส่วน[[ครีเอตินไคเนส]]-เอ็มบี (creatine kinase-MB; CK-MB) และระดับ[[โทรโปนิน]] (troponin) การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจจะช่วยให้แพทย์แยกระหว่าง ST elevation MI (STEMI) และ non-ST elevation MI (non-STEMI)
 
การรักษาผู้ป่วยที่สงสัยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันได้แก่การให้[[ออกซิเจน]] [[แอสไพริน]] และ[[ไนโตรกลีเซอรีน]]ชนิดอมใต้ลิ้น หากจำเป็นต้องใช้[[ยาระงับปวด]]เพิ่มมักพิจารณาให้[[มอร์ฟีน ซัลเฟต]]<ref>{{cite journal |author=Erhardt L, Herlitz J, Bossaert L, ''et al.'' |title=Task force on the management of chest pain |journal=Eur. Heart J. |volume=23 |issue=15 |pages=1153–76 |year=2002 |pmid=12206127 |doi=10.1053/euhj.2002.3194| url=http://eurheartj.oxfordjournals.org/cgi/reprint/23/15/1153|format=PDF |author10=Task Force on the management of chest pain}}</ref> [[การทบทวนวรรณกรรม]]ในปี ค.ศ. 2009 เกี่ยวกับการให้ออกซิเจนอัตราการไหลสูงเพื่อรักษากล้ามเนื้อหัวใจตายพบว่าการให้ออกซิเจนอัตราการไหลสูงเพิ่มอัตราเสียชีวิตและขนาดของกล้ามเนื้อหัวใจที่ตาย ทำให้เกิดข้อสงสัยถึงการแนะนำให้ใช้ออกซิเจนในการรักษาเป็นกิจวัตร<ref name="heart.bmj.com">{{cite web |url=http://heart.bmj.com/cgi/content/full/95/3/198 |title=Routine use of oxygen in the treatment of myocardial infarction: systematic review -- Wijesinghe et al. 95 (3) : 198 -- Heart |format= |work= |accessdate=}}</ref> ผู้ป่วย STEMI ส่วนใหญ่รักษาได้ด้วย[[ยาสลายลิ่มเลือด]]หรือ[[การขยายหลอดเลือดโคโรนารีทางผิวหนัง]] (Percutaneous coronary intervention; PCI) ส่วนผู้ป่วย NSTEMI รักษาด้วยยาแม้ว่ามักจะทำ PCI ในระหว่างผู้ป่วยพักในโรงพยาบาล ในผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นหลอดเลือดโคโรนารีหลายตำแหน่งและผู้ป่วยที่เสถียรหรือในผู้ป่วยฉุกเฉินน้อยรายอาจพิจารณาทำ[[การผ่าตัดทางเลี่ยงหลอดเลือดโคโรนารี]]หรือที่เรียกกันว่า การผ่าตัดบายพาส
 
กล้ามเนื้อหัวใจตายนับเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของทั้งผู้ชายและผู้หญิงทั่วโลก<ref name="WHO-2002">{{cite book | title=The World Health Report 2004 - Changing History | publisher=[[World Health Organization]] | date=2004 | pages=120–4 | format=PDF | url=http://www.who.int/entity/whr/2004/en/report04_en.pdf | isbn= 92-4-156265-X | author=Robert Beaglehole, ''et al.''}}</ref> โดย[[ปัจจัยเสี่ยง]]ที่สำคัญคือ[[โรคหัวใจและหลอดเลือด]]ที่เคยเป็นมาก่อน, อายุมาก, [[การสูบบุหรี่]], ไขมันชนิด[[ไตรกลีเซอไรด์]]และ[[ไลโปโปรตีนชนิดความหนาแน่นต่ำ]] (low-density lipoprotein; LDL) ในเลือดสูง และมีระดับ [[ไลโปโปรตีนชนิดความหนาแน่นสูง]] (high-density lipoprotein; HDL) ในเลือดต่ำ, [[เบาหวาน]], [[ความดันโลหิตสูง]], [[โรคอ้วน]], [[โรคไตเรื้อรัง]], [[หัวใจล้มเหลว]], [[การดื่มสุรา]]มากเกิน, การใช้สารเสพติดบางชนิด เช่น [[โคเคน]]และ[[เมทแอมเฟตามีน]] และระดับความเครียดเรื้อรัง<ref name="pmid18241872">{{cite journal |author=Bax L, Algra A, Mali WP, Edlinger M, Beutler JJ, van der Graaf Y |title=Renal function as a risk indicator for cardiovascular events in 3216 patients with manifest arterial disease |journal=Atherosclerosis |volume= 200|issue= 1|pages= 184|year=2008 |pmid=18241872 |doi=10.1016/j.atherosclerosis.2007.12.006 |url=http://linkinghub.elsevier.com/retrieve/pii/S0021-9150 (07) 00768-X}}</ref><ref name="pmid16651468">{{cite journal |author=Pearte CA, Furberg CD, O'Meara ES, ''et al.'' |title=Characteristics and baseline clinical predictors of future fatal versus nonfatal coronary heart disease events in older adults: the Cardiovascular Health Study |journal=Circulation |volume=113 |issue=18 |pages=2177–85 |year=2006 |pmid=16651468 |doi=10.1161/CIRCULATIONAHA.105.610352 |url=http://circ.ahajournals.org/cgi/content/full/113/18/2177}}</ref>
== พยากรณ์โรค ==
พยากรณ์โรคของ MI อาจแตกต่างกันได้มากในผู้ป่วยแต่ละคน ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของผู้ป่วย ตำแหน่งและขนาดของกล้ามเนื้อหัวใจที่ขาดเลือด และการรักษา ในสหรัฐอเมริกาช่วง ค.ศ. 2005-2008 มีการเก็บข้อมูลพบว่ามัธยฐานการเสียชีวิตที่ 30 วัน ของผู้ป่วย MI อยู่ที่ 16.6% (10.9-24.9) การนำค่าต่างๆ ที่ตรวจได้ในห้องฉุกเฉินมาประเมินจะทำให้สามารถแบ่งผู้ป่วยออกเป็นกลุ่มๆ ตามความเสี่ยงของการเกิดผลไม่พึงประสงค์หลังการรักษาได้ งานวิจัยชิ้นหนึ่งพบว่าผู้ป่วยชนิดความเสี่ยงต่ำ 0.4% เสียชีวิตที่ 90 วัน หลังได้รับการรักษา ในขณะที่ผู้ป่วยความเสี่ยงสูงเสียชีวิต 21.1%
== อ้างอิง ==
บรรทัด 27:
 
{{โรคหัวใจ}}
{{โครงแพทย์}}
 
[[หมวดหมู่:โรคระบบหัวใจหลอดเลือด]]
[[หมวดหมู่:สาเหตุการเสียชีวิต]]
เส้น 32 ⟶ 34:
[[หมวดหมู่:ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์]]
[[หมวดหมู่:หทัยวิทยา]]
 
{{โครงแพทย์}}
{{Link GA|de}}
{{Link GA|es}}
เส้น 58 ⟶ 60:
[[fi:Sydäninfarkti]]
[[fr:Infarctus du myocarde]]
[[gl:Infarto agudo de miocardio]]
[[gu:હૃદયરોગનો હુમલો]]
[[he:אוטם שריר הלב]]