ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AvicBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.8) (โรบอต แก้ไข: pa:ਅੰਤਰਦੇਸ਼ੀ ਇਕਾਈ ਢਾਂਚਾ
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (Robot: Modifying uz:SI to uz:Xalqaro birliklar tizimi; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 9:
 
== ประวัติ ==
ระบบเมตริกถือกำเนิดขึ้นจากการรวบรวมหน่วยวัดต่างๆ โดยกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการจาก[[สภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส]]และ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 16]] ให้สร้างระบบการวัดที่เป็นสากลและเหมาะสม<ref>{{Cite web|url=http://www1.bipm.org/en/si/history-si/name_kg.html|title=The name kilogram"|accessdate=25 July 2006}}</ref> (ซึ่งหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์กลุ่มนั้นคือ [[อ็องตวน ลาวัวซีเย]] ผู้ได้รับฉายาว่าเป็น "บิดาแห่งเคมีสมัยใหม่") ในวันที่ [[1 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1793]] [[สมัชชาแห่งชาติฝรั่งเศส]] ได้ให้นิยามของหน่วย[[เมตร]]ใหม่และกำหนดความยาวมาตรฐานรวมถึงหน่วยวัดฐานสิบอื่นๆ ในวันที่ [[7 เมษายน]] [[ค.ศ. 1795]] ได้กำหนดหน่วยวัดมาตรฐานไว้ห้าหน่วยในกฎหมาย ''Loi du 18 germinal, an III'' ได้กำหนดนิยามของหน่วย[[กรัม]] ขึ้นมาแทนหน่วย grave ที่มีอยู่แต่เดิม จนในวันที่ 10 ธันวาคม 1799 (ภายหลังการรัฐประหารของ[[นโปเลียน]] 1 เดือน) ระบบเมตริกใน[[ฝรั่งเศส]]ก็ใช้ได้อย่างสมบูรณ์
 
[[ไฟล์:Metrication by year map.svg|thumb|350px|right|ปีที่แต่ละประเทศเปลี่ยนมาใช้ระบบเมตริก]]
บรรทัด 17:
หลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ระบบมาตรวัดยังคงไม่เป็นมาตรฐาน ทั้งความหลากหลายที่เกิดจากระบบเมทริกเอง และความหลากหลายที่เกิดจากระบบมาตรวัดแบบดั้งเดิม ในการประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศครั้งที่ 9 ในปี 1948 จึงกำหนดให้คณะกรรมการมาตรวิทยาสากลสร้างหลักสูตรการศึกษาทางด้านมาตรวิทยาในระดับสากลขึ้นเพื่อใช้ในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการศึกษา
 
เพื่อที่จะสร้างหลักสูตรนี้ การประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศครั้งที่ 10 จึงเห็นสมควรที่จะสร้างระบบสากลขึ้นมาจากหน่วยฐานทั้งหก โดยเพิ่มการวัดอุณหภูมิและการส่องสว่างจากแต่เดิมที่สร้างหน่วยวัดแค่ระบบ[[กลศาสตร์]]และ[[แม่เหล็กไฟฟ้า]] ได้แก่ [[เมตร]] [[กิโลกรัม]] [[วินาที]] [[แอมแปร์]] องศา[[เคลวิน]] (ซึ่งภายหลังได้ตัดคำว่า "องศา" ทิ้งไป) และ [[แคนเดลา]] การประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศครั้งที่ 11 ปี 1960 จึงได้กำหนดชื่อระบบใหม่นี้ว่า "ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ" หรือที่ย่อเป็น "ระบบเอสไอ" จากชื่อระบบในภาษาฝรั่งเศสที่ว่า ''Système international d'unités'' และมีการเพิ่มหน่วย[[โมล]] เข้าเป็นหน่วยฐานในการประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศครั้งที่ 14 ปี 1971
 
== ระบบที่เกี่ยวข้อง ==
บรรทัด 166:
 
== การเขียนสัญลักษณ์ของปริมาณทางเอสไอ ==
* ปริมาณจะถูกเขียนตัวเลขและตามด้วยเว้นวรรคหนึ่งครั้ง (ซึ่งถือว่าแทนการคูณ) แล้วตามด้วยสัญลักษณ์ของหน่วยนั้น เช่น "2.21&nbsp;kg", "{{val|7.3|e=2|u=m2}}", "22&nbsp;K" ซึ่งรวมถึงหน่วยเปอร์เซ็นต์ (%) ข้อยกเว้นสำหรับกฎนี้ได้แก่สัญลักษณ์ที่เป็นองศา ลิปดา และฟิลิปดา (°,&nbsp;′&nbsp;และ&nbsp;″) ซึ่งจะเขียนติดกันไปโดยไม่ต้องเว้นวรรค <ref name='BIPM style'>{{Cite book|url= http://www.bipm.org/utils/common/pdf/si_brochure_8_en.pdf |title= The International System of Units (SI) |publisher= International Bureau of Weights and Measures (BIPM) |page=133 |year=2006 |edition=8}}</ref><ref name='nist style'>{{Cite web|url=http://physics.nist.gov/Pubs/SP811/sec07.html |title=NIST Guide to SI Units&nbsp;— Rules and Style Conventions |accessdate=29 December 2009|last1=Thompson|first1=A.|date=July 2008 |last2=Taylor |first2=B. N. |publisher=National Institute of Standards and Technology }}</ref>
* หน่วยอนุพันธ์ที่คูณกันจะเชื่อมกันด้วยจุดกลาง (·) หรือเว้นวรรคโดยไม่แยกบรรทัดเช่น "N·m" หรือ "N&nbsp;m"
* หน่วยอนุพันธ์ที่หารกันจะเชื่อมกันด้วยเครื่องหมายทับ (⁄) หรือ[[ยกกำลัง]]ด้วยเลขติดลบ เช่นเมตรต่อวินาที สามารถเขียนในรูปแบบ "m⁄s", "m&nbsp;s<sup>−1</sup>", "m·s<sup>−1</sup>" หรือ <math>\textstyle\frac{\mathrm{m}}{\mathrm{s}}</math> โดยให้ใช้เครื่องหมายทับได้เพียงครั้งเดียวเช่น "kg⁄(m·s<sup>2</sup>)" หรือ "kg·m<sup>−1</sup>·s<sup>−2</sup>" ก็ได้แต่ห้ามใช้ "kg⁄m⁄s<sup>2</sup>" ในคีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์จะมีเครื่องหมาย / ซึ่งตรงกับ[[รหัสยูนิโคด]]<code>U+002F</code> แต่ไม่ใช่เครื่องหมายทับที่ใช้กับหน่วยเอสไอซึ่งตรงกับ[[รหัสยูนิโคด]] <code>U+2044</code>.
* สัญลักษณ์หน่วยจะถือความหมายเชิงคณิตศาสตร์ ไม่ใช่ตัวย่อ จึงไม่ลงท้ายด้วยจุดมหัพภาค (.)
* สัญลักษณ์เขียนด้วยตัวอักษรภาษาโรมันตัวตรงเช่น m หรือ s เพื่อให้แตกต่างจากตัวแปรซึ่งมักจะใช้ตัวเอียงเช่น ''m'' แทนมวลหรือ ''s'' แทนระยะกระจัดตามข้อตกลงของมาตรฐานสากล กฎข้อนี้ขึ้นอยู่กับแบบอักษรที่ใช้ในข้อความข้างเคียง<ref name=BIPM2006Ch5>{{Cite journal|author= Bureau International des Poids et Mesures |year=2006 |url=http://www.bipm.org/utils/common/pdf/si_brochure_8_en.pdf |title=The International System of Units (SI) |version= 8th ed. |accessdate=13 February 2008}} Chapter 5.</ref>
* สัญลักษณ์ของหน่วยจะถูกเขียนในรูปตัวพิมพ์เล็กเช่น "m", "s", "mol" ยกเว้นแต่สัญลักษณ์ที่ย่อมาจากชื่อบุคคล เช่นหน่วยของ[[ความดัน]]ถูกตั้งตาม[[แบลส ปาสกาล]] ดังนั้นสัญลักษณ์แทนจึงเขียนด้วย "Pa" ในขณะที่หน่วยเต็มจะเขียนด้วย pascal <ref>Ambler Thompson and Barry N. Taylor, (2008), [http://physics.nist.gov/cuu/pdf/sp811.pdf ''Guide for the Use of the International System of Units (SI)''], (Special publication 811), Gaithersburg, MD: National Institute of Standards and Technology, section 6.1.2</ref>
** ข้อยกเว้นสำหรับการเขียนตัวพิมพ์เล็กในสัญลักษณ์คือ[[ลิตร]] "l" ดูคล้ายกับเลข "1" หรือตัวไอใหญ่ ในหลายประเทศจึงแนะนำให้ใช้ "L" ซึ่งได้รับการยอมรับการประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศในปี 1979 ใน[[ญี่ปุ่น]]และ[[กรีซ]]ใช้ตัวเอลหวัด (ℓ) แทนลิตร แต่ไม่ได้ถูกกำหนดเป็นมาตรฐานแต่อย่างใด
* คำนำหน้าหน่วยให้เขียนติดกับหน่วยโดยไม่มีเครื่องหมายวรรคตอนมาคั่นเช่น "k" ใน "km", "M" ใน "MPa", "G" ใน "GHz") และห้ามใช้คำนำหน้าหน่วยซ้อนกันเช่นห้ามใช้ กิโลกิโลเฮิรตซ์ แต่ต้องใช้ กิกะเฮิรตซ์ และหากคำนำหน้าหน่วยไม่พอ ให้ใช้สัญกรณ์วิทยาศาสตร์หรือคำนำหน้าหน่วยและตัวเลขที่เหมาะสมแทนเช่น 600 นาโนเมตร หรือ {{val|6|e=-7|u=m}}
* สัญลักษณ์คำหน้าหน่วยที่ใหญ่กว่า 10<sup>3</sup> (kilo) ให้ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ <ref>Ambler Thompson and Barry N. Taylor, (2008), [http://physics.nist.gov/cuu/pdf/sp811.pdf ''Guide for the Use of the International System of Units (SI)''], (Special publication 811), Gaithersburg, MD: National Institute of Standards and Technology, section 4.3.</ref>
* สัญลักษณ์ของหน่วยจะไม่เป็นพหูพจน์เช่น "25&nbsp;kg" ไม่ใช่ "25&nbsp;kgs".<ref name="BIPM2006Ch5" />
* มติในการการประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศปี 2003 กำหนดให้สัญลักษณ์ของแยกทศนิยมเป็นจุดมหัพภาค (.) หรือจุลภาค (,) ก็ได้ โดยส่วนมากแล้วในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษและประเทศในเอเซียส่วนใหญ่มักใช้จุดมหัพภาค (.) แต่ประเทศในยุโรปภาคพื้นทวีปหลายประเทศมักใช้จุลภาค (,)
* เราสามารถใช้การเว้นวรรคในการแยกเลขหลักพันเช่นหนึ่งล้านสามารถเขียนได้เป็น 1 000 000 เพื่อให้ต่างจากการใช้จุลภาคหรือมหัพภาคในการแยกทศนิยม และเพื่อให้แตกต่างจากประเทศที่ใช้การเว้นวรรคในการแยกคำ วรรคที่ใช้ในการแยกเลขหลักพันจะเล็กกว่าวรรคที่ใช้แยกคำเล็กน้อย (thin space)
 
บรรทัด 290:
[[uk:Міжнародна система одиниць (СІ)]]
[[ur:بین الاقوامی نظام اکائیات]]
[[uz:SIXalqaro birliklar tizimi]]
[[vec:Sistema Internasional]]
[[vi:SI]]