ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังฆราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
คุณ Heuristics รวมบทความแล้ว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สังฆราช''' คือพระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดใน[[สังฆมณฑล]]<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, 2546,</ref> แต่ละประเทศมักมีสังฆราชเป็นของตน เช่น [[ประเทศพม่า]] [[ประเทศไทย]] [[ประเทศกัมพูชา]] เป็นต้น สังฆราชอาจเป็นประมุขเฉพาะคณะสงฆ์นิกายหนึ่งหรือเป็นประมุขคณะสงฆ์ทั้งปวงทุกนิกายในประเทศนั้น (ซึ่งเรียกว่าสกลมหาสังฆปริณายก<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542</ref>) คำว่า สังฆราช เป็นคำสมาสจากคำว่า สงฺฆ (พระสงฆ์) + ราช (พระราชา) ซึ่งแปลว่า พระราชาแห่งคณะสงฆ์
#REDIRECT [[พระสังฆราช]]
 
== ประเทศไทย ==
#REDIRECT [[{{Main|สมเด็จพระสังฆราช]]}}
สังฆราชของ[[ประเทศไทย]]เรียกว่า '''สมเด็จพระสังฆราช''' และมีตำแหน่งเป็นสกลมหาสังฆปริณายก เพราะทรงเป็นประมุขปกครองบัญชาการคณะสงฆ์ทุกนิกายในประเทศไทย และมีพระอิสริยยศเสมอด้วยพระองค์เจ้าต่างกรม [[พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๗๕]] ฉบับปัจจุบันให้[[พระมหากษัตริย์ไทย]]เป็นผู้สถาปนา[[สมเด็จพระราชาคณะ]]ผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช<ref>[http://www.songpak16.com/prb_all.htm พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535], สำนักงาน[[เจ้าคณะภาค]] 16, เรียกข้อมูลวันที่ 21 พฤศจิกายน 2555</ref>
 
สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ปัจจุบันคือ [[สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก]] ซึ่งดำรงตำแหน่งมาตั้งแต่วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2532<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2532/A/063/1.PDF ประกาศสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช], ตอนที่ 63, เล่ม 106, วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2532, หน้า 1-7</ref>
 
== ประเทศกัมพูชา ==
{{Main|สมเด็จพระมหาสังฆราช}}
ช่วง พ.ศ. 2398-2524 ประเทศกัมพูชามีสังฆราช 2 พระองค์ คือฝ่าย[[มหานิกาย]]และฝ่าย[[ธรรมยุติกนิกาย]] ในปี พ.ศ. 2524 ได้มีการรวมคณะสงฆ์ทั้งสองนิกายเป็นคณะสงฆ์หนึ่งเดียว โดยมี'''สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี[[เทพ วงศ์]]''' เป็นประมุข<ref>{{Harv|Harris|2001|p=75}}</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2534 [[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ]]ทรงสถาปนาสมเด็จ[[บัว กรี]] เป็น'''สมเด็จพระอภิสิรีสุคันธามหาสังฆราชาธิบดี''' ประมุขฝ่ายธรรมยุติกาย ทำให้คณะสงฆ์กัมพูชาแบ่งการปกครองเป็นสองนิกายอีกครั้ง<ref name="Harris2001">{{Harv|Harris|2001|p=77}}</ref> (โดยสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดีเทพ วงศ์ เป็นประมุขฝ่ายมหานิกาย) และในปี พ.ศ. 2549 สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดีได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น'''สมเด็จพระอัคคมหาสังฆราชาธิบดี''' และสมเด็จ[[นนท์ แง้ด]] ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี ประมุขฝ่ายมหานิกายสืบแทนมาจนปัจจุบัน ในปัจจุบันประเทศกัมพูชาจึงมีสมเด็จพระมหาสังฆราช 2 พระองค์
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[en:Sangharaja]]