ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อมเรศ ภูมิรัตน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
R.A. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
*พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน - สังกัดภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
'''ตำแหน่งวิชาการ'''
*พ.ศ. 2517 - อาจารย์ประจำภาควิชาจุลชีววิทยา [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
*พ.ศ. 2519 - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาจุลชีววิทยา [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
*พ.ศ. 2524 - รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาจุลชีววิทยา [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
*พ.ศ. 2533 - ศาสตราจารย์ สาขาวิชาจุลชีววิทยา [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
*พ.ศ. 2540 - ศาสตราจารย์อาคันตุกะ มหาวิทยาลัยโอซาก้า [[ประเทศญี่ปุ่น]]
*พ.ศ. 2544 - ปัจจุบัน - ศาสตราจารย์ ระดับ 11 สาขาจุลชีววิทยา [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
บรรทัด 27:
 
'''ตำแหน่งบริหาร'''
*พ.ศ. 2532 - รักษาการหัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
*พ.ศ. 2532 - 2534 - ผู้อำนวยการโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [[มหาวิทยาลัยมหิดล]]
*พ.ศ. 2533 - 2537 - นายกสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย
*พ.ศ. 2534 - 3538 - รองคณบดี ฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]]
*พ.ศ. 2538 - 2540 - รองคณบดี ฝ่ายกิจกรรมทั้งหมดศาลายา [[มหาวิทยาลัยมหิดล]]
*พ.ศ. 2542 - 2544 - ประธาน ที่ประชุมคณบดีคณะวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
*พ.ศ. 2542 - 2546 - คณบดี [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
*พ.ศ. 2542 - 2546 - กรรมการสภา [[มหาวิทยาลัยมหิดล]]
*พ.ศ. 2543 - 2545 - กรรมการสภา [[มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]]
*พ.ศ. 2546 - 2547 - รักษาการผู้อำนวยการ สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]]
*พ.ศ. 2546 - 2547 - รองอธิการบดีและรองอธิการบดีฝ่ายพัฒนาวิชาการ และวิชาชีพ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]]
*พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน - ดำรงตำแหน่ง คณบดี [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]] เป็นสมัยที่ 2
*พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน - ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการศูนย์ประยุกต์และบริการวิชาการ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] อีกหนึ่งตำแหน่ง
 
 
บรรทัด 47:
*- สมาชิกสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย
*- สมาชิกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
*- ภาคีสมาชิก [[ราชบัณฑิตยสถาน]] สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
*- บรรณาธิการวารสารเทคโนโลยีชีวภาพ (Thai Journal of Biotechnology)
*- คณะบรรณาธิการ (Editorial Board) ของ ASEAN Food Journal
บรรทัด 53:
*- คณะบรรณาธิการ (Editorial Board) ของ Journal of Microbiology and Biotechnology
*- WHO Short-term temporary consultant
*- คณะอนุกรรมการโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างไทย-ญี่ปุ่น สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ ของ [[สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ]]
*- ที่ปรึกษารับเชิญของ International Foundation for Science
*- สมาชิก SAC-Food Science International Foundation for Science
บรรทัด 60:
==เกียรติคุณและรางวัล==
*พ.ศ. 2530 - รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ จาก [[สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ]] โดยได้รับรางวัลดีเยี่ยม จากผลงานวิจัยเรื่อง "การปรับปรุงกรรมวิธีการผลิตซีอิ๊ว"
*พ.ศ. 2534 - รางวัลของมหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2534 สาขาทั่วไป จากมหาวิทยาลัยมหิดล
*พ.ศ. 2535 - รางวัล[[นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น]]สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ ประจำปี 2535 จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
บรรทัด 71:
==ผลงานด้านการวิจัย==
 
ศาสตราจารย์ ดร. อมเรศ ภูมิรัตน และคณะ ได้ทำงานวิจัยทางด้านจุลชีววิทยาและ เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีการอาหารอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลากว่า 30 ปี โดยมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ จำนวนกว่า 70 เรื่อง ผลงานวิจัยโดยสรุปมีดังนี้
*'''งานวิจัยด้านการใช้ประโยชน์จากแบคทีเรีย''' ได้แก่ การศึกษาแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ฆ่าแมลง โดยเฉพาะสายพันธุ์ซึ่งฆ่าหนอนแมลงศัตรูพืช และสายพันธุ์ซึ่งสามารถฆ่าแมลงพาหะนำโรค อาทิ Bacillus thuringiensis ศึกษาคุณสมบัติของผลึกสารพิษ ความสามารถที่แบคทีเรียจะยังคงฤทธิ์อยู่ได้ในสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ และการผลิตแบคทีเรียเหล่านี้ในระดับอุตสาหกรรม และพัฒนาให้มีศักยภาพในเชิงพาณิชย์ การถ่ายทอดยีนสารพิษระหว่างแบคทีเรียเหล่านี้ ทั้งในระหว่างสายพันธุ์เดียวกันและสายพันธุ์ต่างกัน ทำให้สามารถสร้างแบคทีเรียสายพันธุ์ใหม่ที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ศึกษาขบวนการควบคุมการแสดงออกของยีนโดยใช้เทคนิคทางด้านพันธุวิศวกรรม เพื่อนำไปพัฒนาสายพันธุ์แบคทีเรียที่เหมาะสมต่อไปได้ในอนาคต
*'''งานวิจัยด้านการใช้ประโยชน์จากเชื้อรา''' ที่สำคัญได้แก่ การแยกวิเคราะห์เชื้อราต่างๆ จากหัวเชื้อซีอิ้วในประเทศไทย และการผลิตเอนไซม์ต่างๆ จากเชื้อรา นอกจากงานวิจัยแล้ว ศาสตราจารย์ ดร. อมเรศ ภูมิรัตน ยังมีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยีในการผลิตอาหารหมักจากถั่วเหลือง ไปยังอุตสาหกรรมขนาดย่อม โดยขบวนการฝึกอบรมและการบริการทางเทคนิคอื่นๆ การผลิตเอ็นไซม์กลูโคอะมัยเลสในระดับอุตสาหกรรม การใช้เชื้อรา Nomuraea rileyi เพื่อควบคุมหนอนแมลงศัตรูพืช ในกลุ่ม Lepidoptera ซึ่งเป็นหนอนที่ทำลายพืชเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก ทั้งพืชผัก ผลไม้และพืชเศรษฐกิจอื่นๆ หนอนกลุ่มนี้ได้แก่ หนอนกระทู้ผัก หนอนกระทู้หอม และหนอนเจาะสมอฝ้าย โดยได้พัฒนางานวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ภาคเอกชน เพื่อที่จะนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปต่อไป