ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แควาเลียร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
[[File:The_Cavalier.jpg|thumb|ทหารของ[[โอลิเวอร์ ครอมเวลล์|ครอมเวลล์]]บุกเข้าไปในที่อยู่อาศัยของคาวาเลียร์ วาดโดยเจ. วิลเลียมสัน สำหรับหนังสือ ''ภาพแห่งประวัติศาสตร์บริเตนเพิ่มเติม'' โดยอี.แอล.ฮอสคิน กรุงลอนดอน ค.ศ. 1914]]
 
อย่างไรก็ตาม สัตยาบันดังกล่าวกลับถูกประกาศโดยฝ่ายรัฐสภาว่าเป็นภาพพจน์ชวนเชื่อและดูหมิ่นของความมักมากในกาม, ชายเสเพลผู้ดื่มสุราจัดและไม่ค่อยนึกถึงพระเจ้า ซึ่งเป็นภาพพจน์นี้เองที่ยังคงอยู่รอดมาและตรงกับลักษณะของฝ่ายกษัตริย์นิยมหลายคน เช่น เฮนรี วิลมอต์ เอิร์ลแห่งรอเชสเตอร์ที่ 1<ref>Barratt, 177</ref> และ [[จอร์จ กอริง ลอร์ดกอริง|ลอร์ดกอริง]] ผู้ซึ่งเป็นนายพลในกองทัพฝ่ายกษัตริย์นิยม<ref>Memegalos, [http://books.google.co.uk/books?id=1JFoOlQlLjQC&printsec=frontcover#PPP4,M1 inside front cover]</ref> เอ็ดเวิร์ด ไฮด์ เอิร์ลที่ 1 แห่งแคลเรนดัน ที่ปรึกษาคนสำคัญของ[[พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าชาลส์ที่ 2]] กล่าไว้ว่าเขา "จะล้มเลิกความไว้วางใจใดๆ โดยปราศจากความลังเล และผ่านร่างพระราชบัญญัติการคลังใดก็ตามเพื่อบรรเทาความกระหายและตอบสนองความประสงค์ทั่วไป; และในความเป็นจริงมิได้ประสงค์สิ่งใดเลยนอกจากความมานะอุตสาหะ (ให้เขามีปัญญา, ความกล้าหาญ, ความเข้าใจ และความทะเยอทะยาน ที่ไม่ถูกควบคุมโดยความกลัวจากพระเจ้าหรือมนุษย์ด้วยกันเอง) เพื่อให้เขามีเชื่อเสียงและประสบความสำเร็จสูงสุดในความชั่วร้ายในฐานะใครก็ตามไม่ว่าจะในยุคที่เขามีชีวิตอยู่หรือยุคก่อนหน้าก็ตาม คุณสมบัติอำพรางทั้งหมดถือว่าเป็นงานชิ้นเอกของเขา; ที่ซึ่งเขาเชี่ยวชาญอย่างมาก มากเสียจนผู้คนไม่ได้ละอายใจหรือเสียหน้าด้วยการถูกหลอกอย่างปกติ แต่รู้สึกดังกล่าวซ้ำสองจากตัวเขา<!--- ต้องการคำแปลที่ดีกว่าจากคำพูดต้นฉบับ: "would, without hesitation, have broken any trust, or done any act of treachery to have satisfied an ordinary passion or appetite; and in truth wanted nothing but industry (for he had wit, and courage, and understanding and ambition, uncontrolled by any fear of God or man) to have been as eminent and successful in the highest attempt of wickedness as any man in the age he lived in or before. Of all his qualifications dissimulation was his masterpiece; in which he so much excelled, that men were not ordinarily ashamed, or countenance, with being deceived but twice by him." ---><ref>[[Encyclopaedia Britannica Eleventh Edition]] Article: GEORGE GORING GORING</ref> ความรู้สึกนี้ถูกพัฒนาขึ้นในการใช้คำว่าคาวาเลียร์ของภาษาอังกฤษสมัยใหม่ ซึ่งใช้อธิบายทัศนคติที่หละหลวมและไม่ใยดี
 
คาวาเลียร์ยังถูกใช้อธิบายถึงสมาชิกของพรรคการเมืองที่สนับสนุนระบอบกษัตริย์ จนกระทั่งวิกฤตการณ์[[ร่างพระราชบัญญัติการยกเว้นผู้สืบราชบัลลังก์]] ค.ศ. 1678 – ค.ศ. 1681 ที่คำดังกล่าวถูกแทนที่ด้วยคำว่า "[[ขุนนางทอรี|ทอรี]]" ซึ่งเป็นอีกคำหนึ่งที่ถูกใช้เชิงดูถูกเหยียดหยามในตอนแรก และในช่วงเวลาดังกล่าวคำที่ใช้เรียกฝ่ายรัฐสภาว่า ''กลุ่มหัวเกรียน'' ก็ถูกแทนที่ด้วยคำว่า "[[พรรควิก (สหราชอาณาจักร)|วิก]]" ซึ่งก็ถูกใช้ในเชิงดูถูกเหยียดหยามในตอนแรกเช่นกัน{{sfn|Worden|2009|p=4}}
 
== ในศิลปกรรม ==
[[File:Charlesx3.JPG|thumbnail|right|ภาพเหมือนสามพระพักตร์ของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษจากสามมุมมอง อันโด่งดังโดย[[แอนโทนี แวน ไดค์]]]]
[[File:Millais Royalist.jpg|thumb|ฝ่ายกษัตริย์นิยมผู้ถูกเนรเทศ ค.ศ. 1651 โดย [[จอห์น เอเวอเรทท์ มิเลส์]]]]
ตัวอย่างของภาพวาดแนวคาวาเลียร์สามารถพบเห็นได้ใน ''ภาพเหมือนสามพระพักตร์ของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษจากสามมุมมอง'' โดย [[แอนโทนี แวน ไดค์]]
 
== หมายเหตุ ==