ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิโครธ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{taxobox
|image = BanyanFuzhou.jpg
|image = Acharya Jagadish Chandra Bose Indian Botanic Garden - Howrah 2011-01-08 9718.JPG
|image_caption =
|regnum = [[Plant]]ae
บรรทัด 21:
==ลักษณะ==
ผิวเปลือกเรียบสีขาวปนเทา [[ใบไม้|ใบ]]เป็นใบเดี่ยวรูปไข่ มีความเงามัน กว้าง 10-14 เซนติเมตร ยาว 15-20 เซนติเมตร ปลายใบมน โคนใบโค้งกว้าง ออกเป็นคู่สลับกัน แขนงใบมีระหว่าง 4-6 คู่ ก้านใบอวบ ยาว 2-5 เซนติเมตร ผลกลมโต วัดผ่าศูนย์กลางได้ประมาณ 1-1.5 ซม. ผลจะติดแนบอยู่ กับกิ่ง แต่ละผลจะมีกาบ 2-4 กาบ เมื่อผลแก่จะมีสีแดงคล้ำหรือสีแดงเลือดหมู เป็นอาหารของพวกนกได้เป็นอย่างดี การขยายพันธุ์นั้นส่วนใหญ่จะเป็นไปเองตามธรรมชาติ โดยพวกนกมากินผลแล้วไปถ่ายมูลยังที่ต่าง ๆ
[[ภาพ:Ficus3FicusBengShoot.jpg|thumb|200px|left|ใบและลูกไกร]]
==ในพุทธประวัติ==
ไกร เป็นต้นไม้มงคลประเภทหนึ่งในคติของ[[พุทธศาสนา]]และ[[ศาสนาฮินดู]] ใน[[พระไตรปิฎก]]เล่มที่ 33 พระสุตตันตปิฎก เล่ม 25 ขุททกนิกาย พุทธวงศ์ กัสสปพุทธวงศ์ กล่าวไว้ว่า [[พระพุทธเจ้า]]องค์ที่ 27 พระนามว่า "[[พระกัสสปพุทธเจ้า]]" ทรงบำเพ็ญเพียรอยู่ 7 วัน จึงได้ประทับตรัสรู้ ณ ควงไม้นิโครธ<ref>[http://www.thaigoodview.com/node/120077 ต้นไม้ในพระพุทธศาสนา]</ref> จึงมักปลูกไว้ตาม[[ศาสนสถาน]]และ[[สวนสาธารณะ]]ต่าง ๆ เพื่อเป็นร่มเงาและเป็นที่พักพิงแก่สัตว์ต่าง ๆ
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/นิโครธ"