ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเดื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{taxobox
| name = มะเดื่อ
| image =Greffe naturelle 2.jpg
| image_caption = ใบและผลของต้นมะเดื่อ
| status = LC
| status_system = IUCN3.1
บรรทัด 19:
|}}
 
'''มะเดื่อ''' หรือ '''มะเดื่อฝรั่ง''' หรือ '''มะเดื่อญี่ปุ่น''' ({{lang-en|Fig, Common fig}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Ficus carica}}) เป็นไม้ยืนต้นที่แยกดอกแยกต้นเจริญได้ดีในที่สูงถึง 6 เมตร หรือ 19 ฟุต อยู่ในสกุล ''[[Ficus]]'' วงศ์ [[Moraceae]] เป็นพืชพื้นเมืองในแถบ[[ตะวันออกกลาง]]<ref>''The Fig: its History, Culture, and Curing'', Gustavus A. Eisen, Washington, Govt. print. off., 1901 </ref> เป็นพืชคนละสปีชีส์กับ[[มะเดื่ออุทุมพร]]หรือมะเดื่อชุมพร (''Ficus racemosa'') ที่เป็นไม้พื้นเมืองใน[[อินเดีย]]และ[[ศรีลังกา]]<ref>ประชิดวามานนท์. ไม่ประดับเพื่อการตกแต่ง. กทม. บ้านและสวน. 2550</ref>
 
มะเดื่อเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นเป็นปุ่มแตกกิ่ก้านออก ใบเดี่ยว ด้านหนึ่งหยาบ อีกด้านหนึ่งมีขนอ่อน ลำต้นมียางสีขาว ผลออกเป็นกระจุก กลมแป้นหรือรูปไข่ เปลือกบาง ผลอ่อนสีเขียว พอสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แดงหรือชมพูแล้วแต่พันธุ์ เนื้อในสีแดงเข้ม สุกแล้วมีกลิ่นหอม การปลูกเป็นการค้าเริ่มที่เอเชียตะวันตก แล้วจึงแพร่หลายสู่[[ซีเรีย]] [[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]]<ref name = "มะเดื่อ"> นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. มะเดื่อฝรั่ง ใน ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า149</ref> ปัจจุบันปลูกมากใน[[ยุโรปใต้]] สหรัฐ [[ตุรกี]] [[ออสเตรเลีย]] [[แอฟริกาใต้]] [[มาดากัสการ์]] ในอดีต ประเทศไทยจะนำเข้ามะเดื่อฝรั่งในรูปผลแห้ง เริ่มนำต้นเข้ามาปลูกครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2524 ที่[[ดอยอ่างขาง]]<ref name = "มะเดื่อ"/> โดย[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] และ [[มูลนิธิโครงการหลวง]] เพื่อทดแทนการปลูก[[ฝิ่น]]<ref name="prku">[http://pr.ku.ac.th/pr_news/research/Acrobat/2549/390-49.pdf มะเดื่อฝรั่ง]</ref> เป็นผลไม้ต่างถิ่นชนิดหนึ่ง มีคุณค่าทางอาหารสูงอยู่ใน 10 อันดับแรกของโลก