ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์นกนางนวล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| subdivision =
*''[[Larus]]''<br />
*''[[RissaIchthyaetus]]''<br />
*''[[PagophilaLeucophaeus]]''<br />
*''[[RhodostethiaChroicocephalus]]''<br />
*''[[XemaSaundersilarus]]''<br />
*''[[CreagusHydrocoloeus]]''
*''[[Rhodostethia]]''
*''[[Rissa]]''
*''[[Pagophila]]''
*''[[Xema]]''
*''[[Creagrus]]''
}}
เส้น 25 ⟶ 30:
เป็นนกที่มีขนาดปานกลางจนถึงขนาดใหญ่ มีลักษณะทั่วไป คือ มีขนสีเทาหรือขาว บางชนิดมีสีดำแต้มที่หัวหรือปีก มีปากหนายาว และเท้าเป็นผังพืด เป็นนกที่มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ หากินตามชายฝั่งทะเล และบางชนิดเข้ามาหากินในแหล่งน้ำจืดบ้าง เป็นนกที่ชาวทะเลหรือนักเดินเรือให้ความนับถือ โดยถือว่า หากได้พบนกนางนวลแล้วก็แสดงว่าอยู่ใกล้แผ่นดินมากเท่านั้น<ref>[http://guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?qID=&wi=&hnl=&ob=&asc=&q=%F8.%20%CD%D1 ๘. อันดับนกตีนเทียน-นกอีก๋อย (Order Charadriiformes) จากสนุกดอตคอม]</ref>
 
พบทั่วโลก 55 [[species|ชนิด]] ใน 611 [[genus|สกุล]] (ดูในตาราง) พบในประเทศไทยทั้งหมด 9 ชนิด โดยทุกชนิดถือเป็นนกอพยพหนีความหนาวจากซีกโลกทางเหนือ จะพบได้บ่อยในช่วงเปลี่ยนถ่ายฤดูกาลระหว่างฤดูฝนกับฤดูหนาว โดยสถานที่ ๆ ขึ้นชื่อว่าเป็นแหล่งอพยพของนกนางนวลในประเทศไทย คือ [[บางปู]] ใน[[จังหวัดสมุทรปราการ]] เป็นแหล่งที่ชมนกนางนวลอพยพได้ในทุกปี โดยแต่ละครั้งจะมีจำนวนนกไม่ต่ำกว่า 5,000 ตัว<ref>[http://www.thairath.co.th/column/life/travelmylife/304860 บางปู...บ้านอบอุ่น...ของนกนางนวล จากไทยรัฐ]</ref>
 
อนึ่ง นกในวงศ์นกนางนวล เดิมเคยถูกจัดเป็นวงศ์ใหญ่ เคยมีนกในวงศ์อื่นถูกจัดให้อยู่ร่วมวงศ์เดียวกัน ได้แก่ [[Rynchopidae]] (นกกรีดน้ำ) และ[[Sternidae]] (นกนางนวลแกลบ) แต่ปัจจุบันได้ถูกแยกออกมาเป็นวงศ์ต่างหาก<ref>[http://www2.sarakadee.com/web/modules.php?name=Sections&op=printpage&artid=58 นกกรีดน้ำมาเยือนเมืองไทย จากสารคดี]</ref> <ref name="Harrison">Harrison, Peter; Peterson, Roger Tory (1991). ''Seabirds: A Complete Guide to the Seabirds of the World'' (Helm Identification Guides). Christopher Helm Publishers Ltd. ISBN 071363510X.</ref>