ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิทธิสตรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
NT newthana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
 
== ประวัติความเป็นมาเรื่องสิทธิสตรี ==
'''ประวัติความเป็นมาเรื่องสิทธิสตรี (History of women's rights)'''
=== ประเทศจีน ===
 
สถานะของผู้หญิงในประเทศจีนอยู่ในสถานะที่ต่ำ โดยส่วนใหญ่แล้วมีสาเหตุมาจากขนบธรรมเนียมประเพณีเท้าดอกบัว (foot binding) ผู้หญิงชาวจีนคิดเป็นร้อยละ 45 มีเท้าดอกบัวในช่วงศตวรรษที่ 19 ในระดับชนชั้นที่สูงขึ้นพบว่ามีเท้าดอกบัวเกือบ 100% ในปี ค.ศ. 1912 รัฐบาลจีนสั่งให้มีการสิ้นสุดการมีเท้าดอกบัว เท้าดอกบัวมีส่วนสัมพันธ์กับโครงสร้างกระดูกเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เท้ามีความยาวเพียงแค่ประมาณ 4 นิ้ว เท้าดอกบัวก่อให้เกิดความยากลำบากในการเคลื่อนไหวดังนั้นจึงทำให้การทำกิจกรรมต่างๆของสตรีมีจำกัด
ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ บทความสิทธิตามกฎหมายของสตรีในประวัติศาสตร์ (Legal rights of women in history) และเส้นลำดับเวลาหรือไทม์ไลน์ของสิทธิสตรี (Timeline of women's rights (นอกเหนือจากการออกเสียงเลือกตั้ง)
มีขนบธรรมเนียมประเพณีทางสังคม คือ ผู้ชายและผู้หญิงไม่ควรอยู่ใกล้กัน ดังนั้นหญิงชาวจีนจึงมีความลังเลในการเข้ารับการรักษาโดยแพทย์ชายที่มีการรักษาตามแบบการแพทย์แผนตะวันตก สิ่งนี้ส่งผลให้เกิดความต้องการแพทย์หญิงอย่างมากในการให้การรักษาตามแบบการแพทย์แผนตะวันตกในประเทศจีน ดังนั้นมิชชันนารีชาวอเมริกันจากคณะอเมริกันบอร์ดจากโบสถ์เพรสบีเทอเรียน (Presbyterian Church) จึงได้ส่งตัวแพทย์หญิงมิชชันนารี ด็อกเตอร์ Mary H. Fulton (ในปี ค.ศ. 1854-1927)<ref> http://www.amazon.com/Inasmuch-Mary-H-Fulton/dp/1140341804</ref> เพื่อไปก่อตั้งวิทยาลัยแพทยศาสตร์แห่งแรกสำหรับสตรีในประเทศจีน วิทยาลัยนี้เป็นที่รู้จักกันในนาม Hackett Medical College for Women (夏葛女子醫學院)<ref> http://www.hkbu.edu.hk/~libimage/theses/abstracts/b15564174a.pdf</ref><ref> http://www.cqvip.com/qk/83891A/200203/6479902.html </ref> วิทยาลัยนี้ตั้งอยู่ในนครกว่างโจว (Guangzhou) ประเทศจีนและได้รับเงินบริจาคจำนวนมากจากคุณ Edward A.K. Hackett (ในปี ค.ศ. 1851-1916) จากรัฐอินดีแอนา (Indiana) ประเทศสหรัฐอเมริกา วิทยาลัยนี้มุ่งหวังในการเผยแพร่ศาสนาคริสต์และการแพทย์แผนปัจจุบันและการยกระดับสถานะทางสังคมของหญิงชาวจีน<ref name="RebeccaChan"> Rebecca Chan Chung, Deborah Chung and Cecilia Ng Wong, "Piloted to Serve", 2012 </ref><ref name="facebook"> https://www.facebook.com/PilotedToServe </ref>
 
=== '''ประเทศจีน ==='''
สถานะของผู้หญิงในประเทศจีนอยู่ในสถานะที่ต่ำ โดยส่วนใหญ่แล้วมีสาเหตุมาจากขนบธรรมเนียมประเพณีเท้าดอกบัว (foot binding) ผู้หญิงชาวจีนคิดเป็นร้อยละ 45 มีเท้าดอกบัวในช่วงศตวรรษที่ 19 ในระดับชนชั้นที่สูงขึ้นพบว่ามีเท้าดอกบัวเกือบ 100% ในปี ค.ศ. 1912 รัฐบาลจีนสั่งให้มีการสิ้นสุดการมีเท้าดอกบัว เท้าดอกบัวมีส่วนสัมพันธ์กับโครงสร้างกระดูกเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เท้ามีความยาวเพียงแค่ประมาณ 4 นิ้ว เท้าดอกบัวก่อให้เกิดความยากลำบากในการเคลื่อนไหวดังนั้นจึงทำให้การทำกิจกรรมต่างๆของสตรีมีจำกัด
มีขนบธรรมเนียมประเพณีทางสังคม คือ ผู้ชายและผู้หญิงไม่ควรอยู่ใกล้กัน ดังนั้นหญิงชาวจีนจึงมีความลังเลในการเข้ารับการรักษาโดยแพทย์ชายที่มีการรักษาตามแบบการแพทย์แผนตะวันตก สิ่งนี้ส่งผลให้เกิดความต้องการแพทย์หญิงอย่างมากในการให้การรักษาตามแบบการแพทย์แผนตะวันตกในประเทศจีน ดังนั้นมิชชันนารีชาวอเมริกันจากคณะอเมริกันบอร์ดจากโบสถ์เพรสบีเทอเรียน (Presbyterian Church) จึงได้ส่งตัวแพทย์หญิงมิชชันนารี ด็อกเตอร์ Mary H. Fulton (ในปี ค.ศ. 1854-1927)<ref> http://www.amazon.com/Inasmuch-Mary-H-Fulton/dp/1140341804</ref> เพื่อไปก่อตั้งวิทยาลัยแพทยศาสตร์แห่งแรกสำหรับสตรีในประเทศจีน วิทยาลัยนี้เป็นที่รู้จักกันในนาม Hackett Medical College for Women (夏葛女子醫學院)<ref>[4][5] http://www.hkbu.edu.hk/~libimage/theses/abstracts/b15564174a.pdf</ref><ref> http://www.cqvip.com/qk/83891A/200203/6479902.html </ref> วิทยาลัยนี้ตั้งอยู่ในนครกว่างโจว (Guangzhou) ประเทศจีนและได้รับเงินบริจาคจำนวนมากจากคุณ Edward A.K. Hackett (ในปี ค.ศ. 1851-1916) จากรัฐอินดีแอนา (Indiana) ประเทศสหรัฐอเมริกา วิทยาลัยนี้มุ่งหวังในการเผยแพร่ศาสนาคริสต์และการแพทย์แผนปัจจุบันและการยกระดับสถานะทางสังคมของหญิงชาวจีน<ref name="RebeccaChan"> Rebecca Chan Chung, Deborah Chung and Cecilia Ng Wong, "Piloted to Serve", 2012 </ref><ref name="facebook"> https://www.facebook.com/PilotedToServe[6][7] </ref>
 
'''ประเทศกรีซ (Greece)'''
 
สถานภาพของสตรีในกรีซโบราณมีความแตกต่างกันจากเมืองหนึ่งไปยังอีกเมืองหนึ่ง มีการบันทึกเกี่ยวกับสตรีในเมืองโบราณต่างๆในประเทศกรีซ เช่น เดลฟี (Delphi) กอร์ไทน์ (Gortyn) เทสซาลี (Thessaly) เมการา (Megara) และสปาร์ตา (Sparta) ในการที่สตรีเป็นเจ้าของที่ เป็นสิ่งที่มีเกียรติมากที่สุดของการมีทรัพย์สมบัติส่วนตัวในช่วงเวลานั้น [8]
ในนครรัฐเอเธนส์ (Athens) สมัยโบราณ สตรีไม่มีความเป็นมนุษย์ตามกฎหมายและถือว่าเป็นอย่างส่วนหนึ่งของ oikos (ภาษากรีก ซึ่งแปลว่า “บ้าน” หรือ “ที่อยู่ศัย”) ผู้ชายเป็นอย่างผู้นำ เป็นอย่าง kyrios (ภาษากรีก ซึ่งแปลว่า “องค์พระผู้เป็นเจ้า”) ผู้หญิงจะอยู่ภายใต้การปกครองของบิดาตนหรือญาติคนอื่นซึ่งเป็นเพศชายจนกว่าจะมีการแต่งงาน และเมื่อมีการแต่งงานไปสามีจะกลายมาเป็นพระเจ้าของตน ผู้หญิงถูกห้ามจากการมีส่วนในกระบวนการพิจารณาตามกฎหมาย (legal proceedings) แต่ผู้ชายที่มีฐานะเป็นอย่างพระเจ้าสามารถทำสิ่งดังกล่าวได้ในนามของตน[9]
ผู้หญิงแห่งนครเอเธนส์มีสิทธิจำกัดในทรัพย์สิน ดังนั้นจึงไม่ถือว่ามีความพลเมืองอย่างเต็มที่ เนื่องจากว่าคำว่า ความเป็นพลเมือง (citizenship) และการมีสิทธิ์ (entitlement)ในเรื่องพลเมืองและการเมืองมีความหมายสัมพันธ์กับทรัพย์สินและวิถีต่างๆในชีวิต[10] แต่อย่างไรก็ตามผู้หญิงสามารถได้รับสิทธิในทรัพย์สินจากของขวัญ สินสมรส (dowry) และมรดก (inheritance) แม้ว่าผู้ชายซึ่งเป็นพระเจ้าของตนมีสิทธิในการนำทรัพย์สินของผู้หญิงออกไป[11] ผู้หญิงแห่งนครเอเธนส์สามารถมีส่วนในการทำสัญญาซึ่งมีค่าน้อยกว่า “หน่วยวัดปริมาตร medimnos ของข้าวบาร์เล่ย์ ” (medimnos เป็นภาษากรีก ซึ่งเป็นหน่วยวัดปริมาณของข้าว) การมีสิทธิในการทำสัญญานี้ช่วยให้ผู้หญิงมีส่วนในการค้าย่อย (petty trading) [9] ผู้หญิงซึ่งเป็นอย่างทาสไม่มีคุณสมบัติในการเป็นพลเมืองที่เต็มที่ในนครเอเธนส์สมัยโบราณแม้ว่าในบางสถานการณ์ที่เกิดขึ้นนานๆครั้งที่ผู้หญิงสามารถกลายมาเป็นพลเมืองได้ถ้าได้รับอิสรภาพ ดังนั้น เครื่องกีดกันที่ถาวรเพียงแค่อย่างเดียวเท่านั้นในความเป็นพลเมือง การมีสิทธิพลเมืองและสิทธิการเมืองได้อย่างเต็มที่ คือ เรื่องเพศ ในนครเอเธนส์สมัยโบราณไม่มีผู้หญิงคนใดเคยได้รับความเป็นพลเมือง ดังนั้นในเชิงหลักการและเชิงปฏิบัติ ผู้หญิงไม่ได้รับการพิจารณารวมอยู่ในการปกครองแบบประชาธิปไตยแห่งนครเอเธนส์ในสมัยโบราณ[12]
 
ในทางตรงกันข้าม ผู้หญิงแห่งเมืองสปาร์ตามีความสุขกับสถานะ อำนาจ และการไม่เป็นที่รู้จักในโลกคลาสสิก แม้ว่าผู้หญิงแห่งเมืองสปาร์ตาไม่ได้รับเลือกให้เข้ารับราชการทหารและถูกคัดออกจากการมีชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการเมือง แต่ผู้หญิงเหล่านี้ก็มีความสุขในฐานะที่เป็นมารดาของนักรบชาวเมืองสปาร์ตา ขณะที่ผู้ชายมีส่วนร่วมในราชการทหาร ผู้หญิงจะทำหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินการเรื่องทรัพย์สินที่ดิน ในช่วงศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราชผู้หญิงชาวเมืองนี้จะติดตามสวัสดิการยืดเยื้อ เป็นเจ้าของที่ดินเมืองสปาร์ตาและทรัพย์สินทั้งหมด คิดเป็นประมาณ 35% ถึง 40%[13][14] ภายในสมัยเฮเลนนิสติค (Hellenistic period) ชาวเมืองสปาร์ตาที่มีความมั่งคั่งที่สุดจำนวนหนึ่งเป็นผู้หญิง[15] ผู้หญิงควบคุมทรัพย์สินของตนทั้งหมดรวมไปถึงทรัพย์สินของญาติซึ่งเป็นเพศชายซึ่งออกไปกองทัพ[13] การที่ผู้หญิงชาวเมืองสปาร์ตาแต่งงานก่อนอายุ 20 ปีนั้นหาได้ยาก ผู้หญิงชาวเมืองสปาร์ตาแตกต่างจากผู้หญิงชาวเมืองเอเธนส์ ผู้หญิงชาวเมืองเอเธนส์สวมใส่เสื้อผ้าที่หนักและปกปิดร่างกายและไม่ค่อยพบผู้หญิงเหล่านี้นอกบ้าน ส่วนผู้หญิงชาวเมืองสปาร์ตาสวมชุดกระโปรงสั้นและไปในสถานที่ที่ตนอยากไป[16] เด็กผู้หญิงได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับเด็กผู้ชายและหญิงสาวมีส่วนร่วมใน Gymnopaedia ("เทศกาลเปลือยกายของหนุ่ม Nude Youths")เช่นเดียวกับชายหนุ่มที่มีส่วนร่วม[13][17]
 
เพลโต(Plato)ทราบว่าการให้สิทธิการเมืองและพลเมืองแก่ผู้หญิงจะเปลี่ยนแปลงลักษณะของทั่วไปของครอบครัวและรัฐไปอย่างมาก[18] อริสโตเติลซึ่งได้รับคำสอนจากเพลโต อริสโตเติลได้ปฏิเสธเรื่องที่ว่าผู้หญิงคือทาสหรือขึ้นอยู่กับทรัพย์สิน อริสโตเติลแย้งว่า “ธรรมชาติได้แยกความแตกต่างระหว่างผู้หญิงและทาส” แต่อริสโตเติลคิดว่าภรรยาเป็นอย่าง “สิ่งที่ซื้อมา” อริสโตเติลแย้งว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจหลักของผู้หญิง คือ การทำหน้าที่ดูแลทรัพย์สินภายในบ้านที่ผู้ชายได้หามา จากการติดตามแนวคิดของอริสโตเติล แรงงานผู้หญิงไม่มีค่าเนื่องจาก “ศิลปะในการจัดการบ้านเรือน” ไม่มีความคล้ายคลึงกับศิลปะในการสร้างความร่ำรวยมั่งคั่ง เนื่องจากว่าเป็นบุคคลที่ใช้สิ่งซึ่งอีกฝ่ายสร้างขึ้น”[19]
 
นักปรัชญาลัทธิสโตอิกมีแนวคิดที่ตรงกันข้ามกับแนวคิดดังกล่าว ได้แย้งเรื่องความเท่าเทียมทางเพศ ความไม่เท่าเทียมทางเพศ เป็นแนวคิดที่ขัดแย้งกับกฎธรรมชาติ[20] ในข้อโต้แย้งดังกล่าวนั้นนักปรัชญาเหล่านี้ได้ติดตามแนวคิดของลัทธิซีนิกส์ (Cynics)ซึ่งแย้งว่าผู้ชายและผู้หญิงควรจะสวมเสื้อผ้าที่เหมือนกันและได้รับการศึกษาแบบเดียวกัน[20] และนักปรัชญาเหล่านี้ก็มองว่าการแต่งงานเป็นอย่างการเป็นเพื่อนทางศีลธรรม (moral companionship) ระหว่าง 2 ฝ่ายที่เท่าเทียมกันนอกจากความจำเป็นทางสังคมหรือทางชีวภาพ นักปรัชญาก็นำแนวคิดเหล่านี้ไปใช้ในชีวิตตนและไปใช้ในการสอน[20] ลัทธิสโตอิกนำแนวคิดของลัทธิซีนิกส์มาใช้และนำไปเพิ่มในทฤษฎีเรื่องธรรมชาติของมนุษย์ ดังนั้นนักปรัชญาจึงเพิ่มเรื่องความเสมอภาคทางเพศรวมอยู่ในพื้นฐานทางปรัชญาเป็นพื้นฐานที่หนักแน่น [20]
 
'''กรุงโรมสมัยโบราณ Ancient Rome'''
 
สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมสำหรับหัวข้อนี้ดูได้ที่ Women in ancient Rome(สตรีในกรุงโรมสมัยโบราณ).
 
[[ไฟล์:Fulvia Antonia.jpg|thumbnail]]
Fulvia (ฟูลเวีย) ภรรยาของ Mark Antony(มาร์ค แอนโทนี่)บังคับบัญชากองทัพระหว่างช่วงสงครามกลางเมืองของชาวโรมัน (Civil wars) และเป็นสตรีคนแรกซึ่งภาพเหมือนของตนปรากฏอยู่บนเหรียญโรมัน[21]
 
ผู้หญิงที่เกิดมาอย่างอิสระในกรุงโรมสมัยโบราณเป็นพลเมืองซึ่งมีความพึงพอใจกับสิทธิพิเศษทางกฎหมายและการได้รับความคุ้มครองทางกฎหมาย ซึ่งสิทธิพิเศษและการคุ้มครองนี้ไม่ได้ขยายขอบเขตไปถึงผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองหรือทาส แต่อย่างไรก็ตามสังคมโรมันเป็นสังคมอำนาจฝ่ายบิดา (patriarchal)และผู้หญิงไม่สามารถออกเสียงเลือกตั้ง หรือดำรงตำแหน่งสาธารณะหรือเข้ารับราชการทหาร[22] ผู้หญิงในชนชั้นที่สูงขึ้นใช้อิทธิพลทางการเมืองผ่านทางการสมรสและความเป็นมารดา ระหว่างช่วงสมัยสาธารณรัฐโรมัน (Roman Republic) มารดาของพี่น้องกรรักชุช(Gracchus)และของจูเลียส ซีซาร์(Julius Caesar)เป็นอย่างสตรีที่น่าเอาอย่างซึ่งเป็นผู้ทำให้อาชีพของลูกชายมีความก้าวหน้า ในระหว่างช่วงโรมันสมัยจักรวรรดิ (Imperial Period)สตรีของครอบครัวจักรพรรดิสามารถได้รับอำนาจทางการเมืองได้เป็นอย่างมากและจะมีการบรรยายถึงสตรีเหล่านั้นอยู่เป็นประจำในงานศิลปะที่ดูเป็นทางการและในระบบเงินเหรียญ Plotina(โปลตินา)ใช้อิทธิพลต่อสามีของหล่อน จักรพรรดิทราจัน (Trajan)
และทายาทฮาเดรียน (Hadrian ) ข้อมูลทางจดหมายและคำร้องเรียนของโปลตินาในเรื่องต่างๆที่เป็นทางการแพร่พรายสู่สาธารชน ข้อมูลเหล่านั้น คือ เครื่องหมายแสดงให้เห็นว่าแนวคิดของหล่อยถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างแนวคิดที่เป็นที่นิยม[23]
 
สถานะพลเมืองของบุตรกำหนดโดยใช้สถานะของมารดา ทั้งลูกสาวและลูกชายอยู่ภายใต้ patria potestas(อาญาสิทธิ์พ่อบ้าน) ซึ่งเป็นอำนาจปกครองโดยบิดาของตน บิดาเป็นอย่างหัวหน้าครอบครัว(paterfamilias=บิดาเป็นหัวหน้าครอบครัว)
 
 
 
 
{{โครงส่วน}}
เส้น 38 ⟶ 69:
{{โครงส่วน}}
 
<!-- ลิ้งก์ภาษาและหมวดหมู่ อย่าลบครับ -->
== อ้างอิง ==
<references/>
 
[[หมวดหมู่:การศึกษาทางเพศ]]