ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรฮันกึล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: yi:האנגול
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (Robot: Modifying zh-min-nan:Hangeul to zh-min-nan:Ko-lê-jī; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 18:
การประดิษฐ์และใช้ตัวอักษรใหม่แทนตัวอักษรเดิมนี้ถูกต่อต้านอย่างมากจากเหล่าบัณฑิต ซึ่งเห็นว่าตัวอักษรฮันจาเท่านั้นที่เป็นตัวอักษรที่ถูกต้องชอบธรรมที่สุด
 
กษัตริย์เซจงและนักปราชญ์ของพระองค์นำแนวคิดการประดิษฐ์อักษรใหม่มาจาก[[อักษรมองโกเลีย]]และ[[อักษรพัก-ปา]] ทิศทางในการเขียนในแนวตั้งจากขวาไปซ้ายได้อิทธิพลจากอักษรจีน หลังการประดิษฐ์อักษรเกาหลีชาวเกาหลีส่วนใหญ่ยังเขียนด้วยอักษรจีน หรืออักษรระบบ Gukyeol หรือ Idu อักษรเกาหลีใช้เฉพาะชนชั้นระดับล่าง เช่นเด็ก ผู้หญิง และผู้ไร้การศึกษา ในช่วง พ.ศ. 2400 – 2500 การผสมผสานระหว่างการเขียนที่ใช้อักษรจีน (ฮันจา) และอักษรฮันกึลเริ่มเป็นที่นิยม ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2492]] ฮันจาถูกยกเลิกในเกาหลีเหนือ เว้นแต่การใช้ในตำราเรียนและหนังสือพิเศษบางเล่ม เมื่อราว พ.ศ. 2510 – 2512 จึงมีการฟื้นฟูการใช้ฮันจาอีกครั้งในเกาหลีเหนือ ในเกาหลีใต้มีการใช้ฮันจาตลอดมา วรรณคดีเกาหลีสมัยใหม่ส่วนใหญ่ และการเขียนที่ไม่เป็นทางการใช้ฮันกึลทั้งหมด แต่งานเขียนทางวิชาการและเอกสารราชการใช้ฮันกึลควบคู่กับฮันจา
 
== จาโม ==
บรรทัด 27:
พยัญชนะและสระดังกล่าวเรียกว่า พยัญชนะเดี่ยว และสระเดี่ยว ตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีส่วนที่เรียกว่าพยัญชนะซ้ำ และสระประสมด้วย
 
พยัญชนะซ้ำมี 5 ตัว คือ ㄲ ㄸ ㅃ ㅆ และ ㅉ
สระประสมมี 11 ตัว คือ ㅐ ㅒ ㅔ ㅖ ㅚ ㅟ ㅘ ㅙ ㅝ ㅞ และ ㅢ
 
บรรทัด 75:
* {{Cite book | last=Chang | first=Suk-jin | title=Korean | location=Philadelphia | publisher=[[John Benjamins Publishing Company]] | year=1996 | isbn=1556197284 | chapter=Scripts and Sounds}} (Volume 4 of the ''London Oriental and African Language Library'').
* {{Cite book|author=Hannas, William C |title=Asia's Orthographic Dilemma |publisher=[[University of Hawaii Press]] |url=http://books.google.com/books?id=aJfv8Iyd2m4C |year=1997 |isbn=082481892X }}
* Kim-Renaud, Y-K. (ed) 1997. ''The Korean Alphabet: Its History and Structure''. University of Hawai`i Press.
* Lee, Iksop. (2000). ''The Korean Language.'' (transl. Robert Ramsey) Albany, NJ: [[State University of New York Press]]. ISBN 0-7914-4831-2
* The Ministry of Education of South Korea. (1988) ''[http://www.korean.go.kr/search/grammar/rule/collect_rule.html Hangeul Matchumbeop]''.
บรรทัด 185:
[[yi:האנגול]]
[[zh:諺文]]
[[zh-min-nan:HangeulKo-lê-jī]]
[[zh-yue:諺文]]