ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตะโขง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: eu:Tomistoma schlegelii
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| status = EN
| status_system = iucn3.1
| image = SundagavialOnechte gaviaal.jpg
| image_width = 250px
| image_caption = ตะโขง
| image2 = Tomistomaskull.jpg
| image2_width = 250px
| image2_caption = [[กะโหลก]]ของตะโขง
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
เส้น 29 ⟶ 26:
*''Tomistoma schlegelii'' <small>Chan-Ard et al., [[ค.ศ. 1999|1999]]</small>
}}
'''ตะโขง''' หรือ '''จระเข้ปากกระทุงเหว''' หรือ '''ตะโขงมลายู''' ({{lang-en|Malayan gharial, False gharial}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Tomistoma schlegelii}}) เป็น[[สัตว์เลื้อยคลาน]]ขนาดใหญ่ใน[[จระเข้|อันดับจระเข้]] มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Tomistoma schlegelii'' อยู่ใน[[วงศ์ตะโขง]] (Gavialidae) จัดเป็นหนึ่งในสอง[[สปีชีส์|สายพันธุ์ชนิด]]ของ[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]นี้ที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน แต่จัดว่าเป็นเพียงสายพันธุ์ชนิดเดียวเท่านั้นใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ''Tomistoma''
 
มีลำตัวขนาดปานกลาง ความยาวเต็มที่ประมาณ 2.80-3.0 เมตร ปากแหลมเรียวยาวมาก แต่ไม่มีก้อนเนื้อตอนปลายจมูกเหมือน [[ตะโขงอินเดีย]] (''Gavialis gangeticus'') มีแถบ[[สีดำ]]พาดขวางลำตัวและหาง
เส้น 35 ⟶ 32:
พบกระจายพันธุ์อยู่ใน[[คาบสมุทรมลายู]]และภูมิภาค[[อินโดจีน]] เช่น [[ไทย]], [[มาเลเซีย]], [[เวียดนาม]], [[กาลิมันตัน]], [[บอร์เนียว]], [[สุมาตรา]] และพบถึง[[ประเทศออสเตรเลีย]]ทางตอนเหนือ โดยมักอาศัยที่อยู่บริเวณปาก[[แม่น้ำ]]ที่เป็น[[น้ำกร่อย]]หรือ[[ป่าชายเลน]] แม้จะมีลำตัวที่ใหญ่แต่ทว่าด้วยรูปทรงของปากที่เรียวเล็ก ทำให้ตะโขงสามารถกินอาหารได้เพียงไม่กี่ประเภท เช่น [[ปลา]] เท่านั้น เป็นต้น
 
ตะโขงเพศเมียถึงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 5-6 ปี หรือความยาว 2.50-3.0 เมตร มีพฤติกรรมการจับคู่แบบเดียวกับ[[นกเงือก]]คือ จะจับคู่เพียงตัวเดียวเท่านั้น โดยทำรังโดยพูนดินและวัชพืชขึ้นบนชายฝั่ง วางไข่ครั้งละ 20-60 ฟอง ใน[[ฤดูร้อน|ฤดูแล้ง]] ระยะฟักไข่ราว 2.5-3 เดือน เป็นตัวประมาณต้น[[ฤดูฝน]] การเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงเพิ่งประสบความสำเร็จเมื่อปี [[พ.ศ. 2548]] จาก[[ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ|ฟาร์มจระเข้ สมุทรปราการ]] เป็นครั้งแรกของโลก โดยได้พ่อแม่พันธุ์จาก[[ประเทศสิงคโปร์]]<ref>[http://www.nicaonline.com/webboard/index.php?topic=2739.0;wap2 ตะโขง"จระเข้พันธุ์หายากคนไทยโชว์ฝีมือเพาะได้ครั้งแรกของโลก] </ref>
 
สำหรับสถานะใน[[อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์]] (ไซเตส) ถูกจัดให้อยู่ในบัญชีรายชื่อหมายเลขหนึ่ง (Appendix I) คือ ห้ามล่าหรือค้าโดยเด็ดขาด เว้นแต่เป็นไปเพื่อการศึกษาวิจัย
เส้น 45 ⟶ 42:
 
ในกลางปี [[พ.ศ. 2550]] ได้มีการพบตะโขงขนาดเล็กที่ฝายเก็บน้ำคลองถูป [[อำเภอสัตหีบ]] [[จังหวัดชลบุรี]]<ref>[http://www.pattayadailynews.com/thai/shownews.php?IDNEWS=0000004296 “ไอ้เข้” โผล่ซ้ำเห็นชัดปากยาวเรียว แท้จริง “ตะโขง” สัตว์ป่าหายาก]</ref><ref>[http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9500000136995 ชาวบ้านตื่นหน้าเหมือนจระเข้โผล่-ที่แท้ “ตะโขง” สัตว์ป่าคุ้มครองหายาก]</ref>
 
==รูปภาพ==
<gallery>
ภาพ:Tomistomaskull.jpg| image2_caption = [[กะโหลก]]ของตะโขง
ภาพ:Tomistoma schlegelii.jpg|ลักษณะปากของตะโขง
ภาพ:False Gharial.JPG|ภาพจากด้านบน
</gallery>
 
== อ้างอิง ==
* [http://www.nicaonline.com/webboard/index.php?topic=2739.0;wap2 ตะโขง"จระเข้พันธุ์หายากคนไทยโชว์ฝีมือเพาะได้ครั้งแรกของโลก ]
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Tomistoma schlegelii|ตะโขง}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{wikispecies-inline|Tomistoma schlegelii}}
 
{{อันดับจระเข้}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ตะโขง"