ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมาคมพระคริสตธรรมไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
ลบข้อมูลละเมิดลิขสิทธิ์
บรรทัด 1:
{{คริสต์}}
 
'''สมาคมพระคริสตธรรมไทย''' เป็นสมาคมของชาว[[คริสต์ในศาสนิกชน]]นิกาย[[โปรเตสแตนต์ในประเทศไทย]]ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อแปลและแจกจ่าย[[คัมภีร์ไบเบิล]]ใน[[ภาษาไทย]] สมาคมไบเบิลไทยเป็นสมาชิกของ[[สหสมาคมพระคริสตธรรม]]
 
สมาคมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ [[พ.ศ. 2509]] และจนถึง [[พ.ศ. 2548]] ได้แจกจ่ายคัมภีร์ไบเบิลไปทั้งหมด 43,740 ตัวอย่าง และ[[พันธสัญญาใหม่]] 9,629 ตัวอย่าง<ref name="ubso">[http://www.biblesociety.org/bs-tha.htm Bible Society work in Thailand]</ref>
 
== ประวัติการก่อตั้งสมาคมพระคริสตธรรมไทย ==
{{เก็บกวาด}}
 
ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 เป็นช่วงที่ประเทศไทยกำลังอยู่ในระหว่าง การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาในทุกด้านพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง ประกาศเลิกทาส ทรงเปลี่ยนระบบราชการโดยนำเอาระบบตุลาการเยี่ยง ตะวันตกมาใช้
มีการปรับปรุงการเก็บภาษีแผ่นดิน
มีการค้าขายติดต่อกับต่างประเทศ จัดตั้งกรมไปรษณีย์โทรเลข
กรมรถไฟและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคต่างๆให้ดีขึ้น<span>&nbsp; </span>ซึ่งในขณะ
นั้นประเทศเพื่อนบ้านในแถบเอเชียกำลังเผชิญกับการขาดแคลนและโรคภัยไข้เจ็บ
ต่างๆ แต่ชาวไทยส่วนใหญ่มีความเป็นอยู่อย่างสมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ<span>&nbsp; </span>คนไทยเป็นคนที่รักสันติ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธและอิสลาม
(ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามนั้นส่วนมากอยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย) <br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1838 งานประกาศพระกิตติคุณของโปรแตสแตนท์ได้เข้ามาสู่ประเทศไทย
โดยได้รับอนุญาตจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้ประกาศพระ
กิตติคุณทางภาคเหนือของประเทศไทยและลาว (ซึ่งในขณะนั้นเป็นดินแดนไทย)<span>&nbsp; </span>คณะมิชชั่นที่ทำงานในแถบนั้นคือ คณะเพรสไบทีเรียน<br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1861 คณะเพรสไบทีเรียนได้ตั้งโรงพิมพ์ขึ้นในกรุงเทพฯ
โดยมีจุดประสงค์เพื่อจัดพิมพ์พระคัมภีร์ออกเผยแพร่
โรงพิมพ์แห่งนี้ได้ร่วมมือกับสมาคมพระคริสตธรรมอเมริกาในการจัดพิมพ์พระคริ
สตธรรมคัมภีร์ที่แปลเป็นภาษาไทยแล้วออกจำหน่ายจ่ายแจกประชาชนในสมัยนั้น
นับได้ว่า เป็นการเริ่มต้นของสมาคมพระคริสตธรรมแห่งอเมริกาในประเทศไทย <br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; โรงพิมพ์ของสภาคริสตจักรฯ(คณะเพรสไบทีเรียน) ซึ่งตั้งขึ้นเมื่อปี
1861 ดูและและดำเนินการโดย ดร.แมคโดนัลด์
มีสมาคมพระคริสตธรรมอเมริกาสนับสนุนเงินปีละ 1,000
เหรียญเพื่อให้โรงพิมพ์ใช้จ่ายในการจัดพิมพ์และจำหน่ายจ่ายแจก
โรงพิมพ์นี้ได้จัดพิมพ์พระคริสตธรรมคัมภีร์ทั้งเล่มได้พิมพ์สำเร็จเมื่อวัน
ที่ 16 กันยายน 1894
และพระธรรมบทเพลงซาโลมอนเป็นพระธรรมเล่มสุดท้ายที่พิมพ์
โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน มีหมอบรัดเลย์เป็นผู้อำนวยการ ในปี 1863<span>&nbsp; </span>เริ่ม
แรกหมอบรัดเลย์ได้เขียนจดหมายถึงสมาคมพระคริสตธรรมอเมริกาเพื่อขอจำหน่าย
จ่ายแจกพระคริสตธรรมคัมภีร์ในโรงพยาบาลและนำรายได้จากการจำหน่ายไปใช้ใน
กิจการของโรงพยาบาล
ซึ่งนอกจากสมาคมพระคริสตธรรมอเมริกาจะอนุญาตให้จำหน่ายแล้วยังสนับสนุนด้วย
เงินปีละ 500 เหรียญสหรัฐอีกด้วย <br> <br> <strong><span style="color: rgb(227, 108, 10);">ผลการจำหน่ายจ่ายแจกของ
โรงพิมพ์โดย ดร.แมคโดนัลด์ พอสรุปได้ว่า</span></strong><br> - งานจำหน่ายสมัยนั้นส่วนมากจะเป็นกลุ่มมิชชั่นนารีซึ่งมีกำลังคนจำกัด<br> - เนื่องจากคนไทยเคยได้รับการแจกหนังสือฟรีมาตลอดเวลา
เมื่อต้องเสียเงินซื้อก็ไม่ค่อยซื้อกัน ดังนั้นทำให้ยอดการจำหน่ายลดลง<br> - กำลังการผลิตในสมัยนั้นยังมีขีดความสามารถน้อยมาก
ไม่พอแก่ความต้องการของคนไทยที่มีมากขึ้น <br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1939<span>&nbsp; </span>มีการเปลี่ยนชื่อจากประเทศสยามมาเป็นประเทศ
ไทย<span>&nbsp; </span>และชื่อสมาคมพระคริสตธรรมก็เปลี่ยนเป็นสมาคมพระคริสตธรรม
อเมริกาในไทย<br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1958 สมาคมพระคริสตธรรมอเมริกาในประเทศไทย เป็น </span>“<span>หอ
พระคริสตธรรมไทย</span>” <span>หรือ </span>Thailand Bible House <span>เพื่อ
ให้มีความเป็นไทยมากขึ้น<br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1978 หอพระคริสตธรรมไทย ได้จดทะเบียนเป็นสมาคมกับกองกำกับการ 3
(กองตำรวจสันติบาล<span>&nbsp; </span>กรมตำรวจ<span>&nbsp; </span>กระทรวงมหาดไทย)
เปลี่ยนชื่อเป็น </span>“<span>สมาคมพระคริสตธรรมไทย</span>” <span>จนถึง
ปัจจุบัน<br> ประวัติสำนักงานที่ตั้งของสมาคมฯ<br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1938<span>&nbsp; </span>เป็นปีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันท
มหิดลขึ้นครองราชย์ และรัฐบาลได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 1938<span>&nbsp; </span>ศจ. แฟรงกลินได้หาซื้อตึกที่ทำการของสมาคมฯ
และท่านได้ตกลงซื้อบ้านเลขที่ 703 ถนนสาธรเหนือ ต.สีลม อ.บางรัก
ซึ่งอยู่ใกล้กับโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย เป็นที่ทำการของสมาคมฯ
ประกอบด้วยตัวตึก 2 ชั้น
ตัวอาคารทันสมัยแบบยุโรปตามความนิยมของต่างชาติในสมัยนั้น
(ต่อมามีการเปลี่ยนบ้านเลขที่เป็น 150) <br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1981 เลขาธิการสมาคมฯ ในยุคนั้นคือ ศจ.ทรงเดช
กุสาวดีได้ให้วิศวกรมาสำรวจความเสียหายของอาคารเพื่อทำการซ่อมแซมเนื่องจาก
ตัวอาคารมีการใช้งานมายาวนานและเริ่มทรุดโทรม
เมื่อวิศวกรรายงานว่าอาคารอยู่ในสภาพที่ไม่สามารถซ่อมแซมได้แล้ว
ประกอบกับขณะนั้นมีการก่อสร้างสะพานตากสิน
ซึ่งปลายสะพานมีความยาวเกือบถึงหน้าสมาคมฯ
เมื่อก่อสร้างสะพานเสร็จก็จะมียานพาหนะมาใช้สะพานดังกล่าวมากจะส่งผลให้ตัว
อาคารทรุดและพังเร็วยิ่งขึ้น<span>&nbsp; </span>กรรมการอำนวยการเห็นควรให้ย้าย
สำนักงานและหาซื้ออาคารที่เหมาะสมเป็นสำนักงาน
เมื่อขายที่ดินและอาคารสำนักงานเก่าได้แล้วจึงได้นำเงินมาซื้อห้องแถว 4
คูหาริมถนนวิภาวดีทำเป็นสำนักงานและอาคารด้านในอีก 3
คูหาเป็นสต๊อกเก็บสินค้าในเวลาต่อมา <br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อาคารใหม่ของสมาคมพระคริสตธรรมไทยตั้งอยู่ที่เลขที่ 319/52</span> – <span>55 ถ.วิภาวดีรังสิต<span>&nbsp; </span>พญาไท กทม.
ได้มีการทำพิธีเปิดอาคารสมาคมฯในวันที่ 27 กันยายน ค.ศ.1981 โดยมี ดร.ธนู
แสวงศักดิ์ อธิบดีกรมศาสนา เป็นประธาน และได้ใช้สำนักงานนี้มาถึงปัจจุบัน <br> <br> <strong><span style="color: rgb(227, 108, 10);">ลำดับเลขาธิการสมาคมพระ
คริสตธรรมไทยตั้งแต่ยุคแรก </span></strong></span><strong><span style="color: rgb(227, 108, 10);">– <span>ปัจจุบัน</span></span></strong><span style="color: rgb(227, 108, 10);"> </span><span><br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1886</span> – <span>1889<span>&nbsp; </span>ดร.ลูเธอร์ เอส กูลลิค
ซึ่งเป็นเลขาธิการสมาคมฯประเทศจีนในขณะนั้นเข้ามารับงานของสมาคมฯในประเทศ
ไทยอีกแห่ง<span>&nbsp; </span>ช่วงนั้นมีการสั่งงด(ในอนุสรณ์ 100
ปีไม่ได้ระบุไว้ว่าใครสั่งงด)ไม่ให้แจกพระคริสตธรรมคัมภีร์ด้วยการให้เปล่า
แต่ผู้รับจะเสียเงินซื้อในราคาที่ต่ำกว่าทุนมาก
แม้ว่าตอนนั้นจะมีปัญหาเกี่ยวกับอาสาสมัครจำหน่ายซึ่งมีจำนวนลดลงแต่ยอดการ
จำหน่ายกลับสูงขึ้นถึง 4 เท่า
ที่เป็นเช่นนั้นเนื่องจากพระธรรมสุภาษิตเป็นคำกลอนและพระคริสตธรรมคัมภีร์
คัดตอนเล่มอื่นก็พิมพ์ด้วยตัวหนังสือที่ใหญ่ทำให้เป็นที่ชื่นชอบของผู้อ่าน
โดยทั่วไป <br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. ปี 1889 - 1907<span>&nbsp; </span>ศจ. จอห์น คาร์ริงตัน
เป็นเลขาธิการคนแรกฯประจำประเทศไทยอย่างเป็นทางการ<br> - ศจ. จอห์น คาร์ริงตันเคยเป็นมิชชั่นนารีของสภาคริสตจักรในประเทศไทยมาก่อน
ท่านได้ลาออกจากการเป็นศิษยาภิบาลที่ซานฟรานซิสโกมารับตำแหน่งเลขาธิการ
สมาคมฯ เต็มเวลา<span>&nbsp; </span>ในช่วงปลายปีแรกการจำหน่ายเพิ่มขึ้นถึงสาม
เท่าตัว ตัวเลขเพิ่มขึ้นกว่า 7,000 เล่มและจำนวนการสั่งพิมพ์เพิ่มขึ้นกว่า 4 เท่าตัวภายใน 10 ปี
ซึ่งหมายความถึงค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานก็เพิ่มมากขึ้นจากเดิม 1,178
ดอลลาร์ เป็น 4,144 ดอลลาร์ต่อปี<br> - จากประสบการณ์การทำงานรับใช้พระเจ้าของ ศจ. คาร์ริงตัน
ท่านได้ถ่ายทอดสิ่งที่น่าสนใจเป็นคำพูดของท่าน ดังนี้</span><span>&nbsp; </span>“<span>เรา
ได้ประกาศพระกิตติคุณเข้าไปในหลายจังหวัด ได้ประกาศเข้าไปในหมู่บ้านต่างๆ
หนังสือพระคริสตธรรมคัมภีร์จำนวนมากได้ขายไป คนหลายร้อยคนได้พบกับพระเจ้า
ซึ่งคนเหล่านั้นไม่มีโอกาสได้ยินข่าวประเสริฐจากมิชชั่นนารีหรือผู้รับใช้
พระเจ้าคนอื่นๆเลย ที่กรุงเทพฯ
ข้าพเจ้าได้มีโอกาสไปเยี่ยมราษฎรชาวกรุงเทพฯตามถนนหนทาง
ตรอกซอกซอยต่างๆตามวัดวาอารามเพื่อจำหน่ายจ่ายแจกพระวจนะของพระเจ้าแก่คน
เหล่านั้น</span>”<span><br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หลังจากนั้นไม่กี่ปี ท่านได้บันทึกเอาไว้ว่า </span>“<span>เราได้นำ
พระคริสตธรรมคัมภีร์ของสมาคมฯเข้าไปจำหน่ายในบ่อนการพนัน ในโรงฝิ่น
ในโรงเหล้า ร้านหนังสือ ร้านตัดผม บนเรือ ในเรือนแพ
ในย่านของคนยากจนในย่านของคนร่ำรวย</span>”<span><br> - ในตอนต้นของศตวรรษที่ 20
เป็นครั้งแรกที่พระคริสตธรรมคัมภีร์ทั้งเล่มได้ถูกพิมพ์เป็นภาษาไทย<span>&nbsp; </span>นอก
จากนั้นยังมีพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่
พระธรรมคัมภีร์ตอนต่างๆจากพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิมและใหม่และ
ภาษาลาว<span>&nbsp; </span>พระคริสตธรรมคัมภีร์ภาษาเขมร
พระกิตติคุณลูกาและกิจการภาษาเขมรก็ถูกพิมพ์ขึ้นในช่วงนี้เช่นกัน
หนังสือทั้งหมดนี้ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมพระคริสตธรรมอเมริกาทั้งสิ้น<br> ค.ศ. 1907</span> – <span>1912<span>&nbsp; </span>ศจ. ดับบลิว.เอ็ม.
คาเมอร์ตันได้มารับหน้าที่แทนต่อจาก ศจ. คาร์ริงตัน<span>&nbsp; </span>ท่านเดิน
ทางเพื่อจ่ายแจกพระวจนะของพระเจ้าหลายครั้ง
ทั้งทางเรือและเกวียนเทียมด้วยวัวยังจังหวัดต่างๆในประเทศไทย<br> <br> <strong><span style="color: rgb(227, 108, 10);">ปลายปีค.ศ. 1912</span></strong></span><strong><span style="color: rgb(227, 108, 10);"> – <span>1932<span>&nbsp;&nbsp; </span>ศจ.
โรเบิร์ต<span>&nbsp; </span>เออร์วิน</span></span><span><br> </span></strong><span>-
สิ่งแรกที่ท่านทำคือสะสางเรื่องบัญชีและแก้ไขงานทางด้านบริหารให้ทันสมัย<span>&nbsp; </span>ท่านเห็นว่าการที่เลขาธิการจะออกไปจำหน่ายจ่ายแจกเองนั้นย่อมไม่
คุ้มค่า<span>&nbsp; </span>ท่านจึงจ้างคนงานที่จะช่วยทำงาน
ศจ.เออร์วินได้เชิญมิชชั่นนารีให้ว่าจ้างคริสเตียนพื้นเมืองมาอบรมการ
จำหน่ายจ่ายแจกพระคริสตธรรมคัมภีร์พร้อมทั้งประกาศพระกิตติคุณไปด้วย
โดยสมาคมฯสนับสนุนค่าจ้างและค่าเดินทางให้
ซึ่งการนี้ช่วยให้งานสมาคมฯคล่องตัวยิ่งขึ้น<span>&nbsp; </span>เมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงระบบการทำงาน การจำหน่ายจึงเพิ่มขึ้นและรวดเร็ว
ทันต่อความต้องการพระวจนะพระเจ้าของผู้คน<br> - สิ่งหนึ่งที่จะช่วยให้การจำหน่ายประสบความสำเร็จ คือ
มีการสัมมนาผู้แทนจำหน่ายพระคริสตธรรมคัมภีร์เต็มเวลา
มีศูนย์อบรมผู้จำหน่าย ในปีค.ศ. 1918 ศจ. เกรแฮม
ฟูลเลอร์ซึ่งเป็นมิชชั่นนารีสภาคริสตจักรได้จัดตั้งระบบ </span>“
Colporteur” <span>ซึ่งเป็นระบบที่ให้ผู้จำหน่ายมีขอบข่ายการควบคุมในการ
จำหน่ายให้เกิดผลมากยิ่งขึ้น<br> - ศจ.เออร์วินเริ่มโครงการประกาศพระกิตติคุณกับคนตาบอดโดยจัดทำระบบอักษรนูน (</span>Braille) <span>ซึ่งเป็นภาษาสำหรับคนตาบอด
เริ่มต้นด้วยพระคริสตธรรมคัมภีร์คัดตอน (พระกิตติคุณ) ทั้ง 2 เล่ม <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1927 ทางสมาคมฯได้ซื้อเครื่องทำอักษรนูน
เพื่อทำพระคริสตธรรมคัมภีร์สำหรับคนตาบอด <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1930 พระธรรมคัดตอนสำหรับคนตาบอดก็พิมพ์เสร็จ<br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1931</span> – <span>1946<span>&nbsp; </span>ศจ. โรเบิร์ต โอ
แฟรงกลิน <br> - เริ่มต้นจากการเป็นศิษยาภิบาลที่คริสตจักรเพรสไบทีเรียนในเมืองเออร์วิน
รัฐเทนเนสซี่<span>&nbsp; </span>ท่านและภรรยารักชาวสยามมากและหวังจะเห็นพระคำ
ของพระเจ้าถูกหว่านไปทั่วดินแดนนี้
ช่วงนั้นเป็นช่วงที่ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเปลี่ยนแปลงหาร
ปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบรัฐธรรมนูญ
มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้ส่งผลสะท้อนถึงการทำงานของสมาคมพระคริสตธรรมไทยด้วย
แม้จะเผชิญกับปัญหารอบด้านแต่ท่านก็สามารถเผชิญได้ด้วยความทรหดอดทนอย่างน่า
ยกย่อง <br> - ศจ.แฟรงกลินพยายามทุกวิถีทางที่จะส่งเสริมให้คริสตจักร
องค์กรหน่วยงานคริสตชนมีภาระในการจำหน่ายจ่ายแจกพระคำของพระเจ้าร่วมกับมิ
ชชั่นนารี
ความกระตือรือร้นในการทำงานของท่านได้เพิ่มความสนใจของชาวอีสานในเรื่องราว
ของพระเจ้า
มีการเปิดโรงเรียนศาสนศาสตร์ที่โคราชและชั้นเรียนพิเศษสำหรับการประกาศพระ
กิตติคุณโดยการจำหน่ายพระคริสตธรรมคัมภีร์ โดยคณะซี เอ็ม เอ มิชชั่น<span>&nbsp; </span><br> - ปี 1941 เป็นช่วงที่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2
และคริสเตียนถูกข่มเหงอย่างหนักรวมทั้งองค์กรหน่วยงานคริสเตียนด้วย
มีรายงานว่า ศจ. แฟรงกลินถูกกักขังและจะส่งตัวกลับอเมริกาในปีค.ศ. 1942<span>&nbsp; </span>แต่แล้ว ศจ. แฟรงกลิน ก็ได้กลับมาทำงานในสมาคมฯอีกครั้งในปีค.ศ.
1946 เพื่อตรวจดูสภาพความเรียบร้อยของตัวตึกและเตรียมงานให้เลขาธิการคนใหม่<span>&nbsp; </span>สภาพบ้านเมืองกรุงเทพฯหลังสงครามยุติไม่ได้ทำให้ท่านท้อใจแต่อย่าง
ใด ท่านชื่นชมยินดีที่ได้เห็นว่าของสำคัญไม่ได้ถูกทำลายไป
ทรัพย์สินของสมาคมฯยังอยู่ครบ และหลังจากนั้นกว่า 4
สัปดาห์ที่ทำการซ่อมแซมตัวตึกจนแล้วเสร็จ <br> <br> <strong><span style="color: rgb(227, 108, 10);">ปีค.ศ. 1946</span></strong></span><strong><span style="color: rgb(227, 108, 10);"> – <span>1956<span>&nbsp; </span>ศจ.ปี
เตอร์ โวท<br> </span></span></strong><span>- ปีค.ศ. 1947 ได้แถลงถึงโครงการ 5
ปีในการทำงานและได้ตั้งเป้าในการจำหน่ายแจกจ่ายพระวจนะของพระเจ้าให้ได้
500,000 เล่ม<span>&nbsp; </span>โดยเริ่มพร้อมกับโครงการขยายคริสตจักรของสภาคริ
สตจักรในประเทศไทย<span>&nbsp; </span>หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
รัฐบาลสนับสนุนให้ประชาชนมีการศึกษามากขึ้น
เป็นเหตุให้ความต้องการพระคริสตธรรมคัมภีร์ในหมู่ผู้ได้รับการศึกษามีเพิ่ม
ขึ้น<br> - โครงการ 5 ปี จำต้องใช้ผู้จำหน่ายพระคริสตธรรมคัมภีร์เพิ่มขึ้น
และนั่นหมายถึงงบประมาณที่จะเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัวหลายเท่าตัว<br> - ปี ค.ศ.1948</span> – <span>1949 การจำหน่ายได้เพิ่มสูงขึ้น
ทั้งนี้เนื่องจากการขาดแคลนพระคริสตธรรมคัมภีร์ในช่วงสงคราม แต่ปี ค.ศ.
1950 ความต้องการก็ถึงจุดอิ่มตัว
การจำหน่ายได้เฉพาะในจังหวัดที่สำคัญๆและการเพิ่มยอดจำหน่ายก็ทำได้โดยเพิ่ม
ผู้จำหน่ายให้เดินทางไปจำหน่ายตามที่ต่างๆก็ต้องเพิ่มงบประมาณค่าจ้างและค่า
เดินทางขึ้นด้วย<br> - ปี ค.ศ. 1954
มิชชั่นนารีในประเทศไทยจึงเปลี่ยนวิธีการจำหน่ายพระคริสตธรรมคัมภีร์
จากการจำหน่ายแบบคนต่อคน
เปลี่ยนเป็นองค์กรหน่วยงานหรือคริสเตียนเป็นผู้จำหน่าย
โดยการประกาศด้วยรูปภาพเรื่องราวของพระเยซู
แล้วเชิญชวนให้ผู้ฟังซื้อพระคริสตธรรมคัมภีร์<br> <br> <strong><span style="color: rgb(227, 108, 10);">ปี ค.ศ. 1956</span></strong></span><strong><span style="color: rgb(227, 108, 10);"> – <span>1958<span>&nbsp;&nbsp; </span>ศจ. มิง
ซี เซา</span></span></strong><span> <br> - สิ่งแรกที่ท่านทำ คือ เปลี่ยนชื่อ สมาคมพระคริสตธรรมอเมริกาในประเทศไทย
เป็น </span>“<span>หอพระคริสตธรรมไทย</span>” <span>หรือ </span>Thailand
Bible House <span>เพื่อให้สมาคมฯในประเทศไทยมีความเป็นไทยมากขึ้น<br> - สนับสนุนโครงการ </span>World Wide Bible Reading <span>และ </span>Bible Sunday <span>มีโปสเตอร์ติดตามคริสตจักร และตามร้านหนังสือต่างๆ
ทั้งยังโฆษณาผ่านรายการวิทยุโทรทัศน์
หนังสือพิมพ์สยามรัฐและบางกอกโพสต์ด้วย
ตอนนั้นได้วางขายพระคริสตธรรมคัมภีร์ตามร้านหนังสือต่างๆถึง 26 แห่ง
รวมในร้านที่ท่าอากาศยานดอนเมืองด้วย<br> - ผลักดันให้มีการจำหน่ายในต่างจังหวัดมากขึ้นเท่าที่จะมากได้
และบางที่รถไฟไปไม่ถึง
และท่านได้ขออนุญาตจากรัฐบาลวางพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาษาจีนและอังกฤษตามสถาน
ที่สำคัญต่างๆเช่น สนามบินดอนเมือง โรงแรมใหญ่ๆ
ที่ทำการไปรษณีย์และสถานีรถไฟเป็นการบริการฟรี<span>&nbsp; </span>ฝ่ายการต่าง
ประเทศพอใจในสิ่งที่ ศจ. มิง ซี
เซามากและอนุมัติงบประมาณสนับสนุนตามมาอย่างเพียงพอ<br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1958</span> – <span>1960<span>&nbsp; </span>ศจ. ลิออน ไวล์เดอร์<br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1960</span> – <span>1962<span>&nbsp; </span>ศจ. อาเธอร์ อี. เคราซ์<br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1962</span> – <span>1971 ศจ. ชาน ยัง ชอย (ชาวเกาหลี)<br> - ยอดจำหน่ายปีค.ศ. 1962</span> – <span>1965<span>&nbsp; </span>เพิ่มขึ้นจาก
767,000 เป็น 1,427,000 เล่ม และในปี 1967 จำหน่ายถึง 2,000,000 เล่ม
ด้วยการจัดหาอุปกรณ์และเครื่องมือช่วยในการออกจำหน่าย เช่น เครื่องเสียง</span>, <span>รถจักรยานยนต์</span>, <span>การออกร้านจำหน่าย<br> - ศจ. ชาน ยัง ชอย เป็นผู้ริเริ่มให้ความสำคัญในการนำพระคัมภีร์ไปถวายวัด
เพื่อชายไทยที่บวชเรียนจะมีโอกาสศึกษาพระวจนะของพระเจ้าได้ด้วย <br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1971</span> – <span>1975<span>&nbsp; </span>ศจ. บุญครอง<span>&nbsp; </span>ปิฎ
กานนท์<br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1975</span> – <span>1986 ศจ. ทรงเดช<span>&nbsp; </span>กุสาวดี<br> - หอพระคริสตธรรมไทย ได้จดทะเบียนเป็นสมาคมกับกองกำกับการ 3
(กองตำรวจสันติบาล<span>&nbsp; </span>กรมตำรวจ<span>&nbsp; </span>กระทรวงมหาดไทย)
เปลี่ยนชื่อเป็น </span>“<span>สมาคมพระคริสตธรรมไทย</span>” <span>จนถึง
ปัจจุบัน ซึ่งในการจดทะเบียนเป็นสมาคมฯ จำเป็นต้องมีสมาชิก
มีธรรมนูญและกรรมการอำนวยการเพื่อดำเนินงานของสมาคมฯและมีการประชุมสมัชชา
ดังนั้น จึงได้จัดการประชุมสมัชชาสมาคมฯ เป็นครั้งแรกในวันที่ 9 ธันวาคม
ค.ศ. 1978 และต่อมามีการประชุมกรรมการอำนวยการอย่างน้อยปีละ 4
ครั้งและประชุมสมัชชาปีละ 1 ครั้ง<br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค.ศ. 1986 ศจ.สมดี<span>&nbsp; </span>ภูสอดสี<br> - ได้เริ่มต้นจัดทำหนังสือ </span>“<span>เฉลิมพระเกียรติ</span>” <span>จำนวน 300,000
เล่มให้คริสตชนได้ใช้แจกพี่น้องชาวไทยในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่
หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ และใบปลิวจำนวน 300</span>, <span>000 ชุด และได้นำหนังสือและใบปลิวจำนวน 60,000
เล่มไปแจกให้กับผู้เข้าชม </span>“<span>เรือดูโลส</span>” <span>หรือห้อง
สมุดลอยน้ำลำแรกที่มาแวะเยี่ยมประเทศไทยในปี 1987 อีกด้วย<br> <br> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ปี 1988 สมาคมพระคริสตธรรมอเมริกาได้มีการประชุมประจำปีของสมาคมฯ
และที่ประชุมมีมติเลือกพระสังฆราชยอด<span>&nbsp; </span>พิมพิสาร
รองประธานกรรมการอำนวยการของสมาคมพระคริสตธรรมไทยเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์
ตลอดชีพ
เนื่องจากท่านได้บำเพ็ญประโยชน์อย่างใหญ่หลวงแก่สมาคมพระคริสตธรรมไทย
แก่สหสมาคมพระคริสตธรรมภาคพื้นเอเชียแปซิฟิคและแก่สมาคมพระคริสตธรรมโลก</span></span></p>
 
== อ้างอิง ==