ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศิลปะนามธรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[Image:Delaunay -- Paysage au disque, 1906.jpg|thumb|right|thumb|300px|right|ภาพ ''เปอีย์ซาจโอดิสก์'' โดยโรแบร์ต เดอลูเนย์ ค.ศ. 1906-1907]]
'''ศิลปะนามธรรม''' ({{lang-en|Abstract Art}}) คือ[[ศิลปะ]]ที่แสดงออกถึงจิตใจความรู้สึกของ[[มนุษย์]] การถ่ายทอดศิลปะจะแสดงออกมาเป็นสองหรือ[[สามมิติ]] ภาพส่วนใหญ่จะไม่เป็นเรื่องราวที่มีความจริง อาจจะละทิ้งรูปทรงต่าง ๆ หรืออาจจะสร้างรูปทรงของภาพขึ้นมาใหม่ด้วย ความคิดของคนวาดเองศิลปะเหล่านี้ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว ศิลปะเหล่านี้ถือว่าทำความเข้าใจยากกว่าศิลปะชนิดอื่น
'''ศิลปะนามธรรม''' ({{lang-en|Abstract Art}}) ใช้ภาษาภาพในการสื่อความหมายด้วยรูปทรง, สี และลายเส้น เพื่อสร้างสัดส่วนซึ่งอาจจะประกอบขึ้นในระดับความเป็นนามธรรมที่แตกต่างกันไป<ref>Rudolph Arnheim, ''Visual Thinking''</ref> ตั้งแต่[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]]ไปจนถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 [[ศิลปะตะวันตก]]รับอิทธิพลในการใช้[[ทัศนมิติ]]และความพยายามในการทำให้สมจริงมากที่สุด ศิลปะของวัฒนธรรมนอกทวีปยุโรปถูกเข้าถึงและแสดงให้เห็นแนวทางอันหลากหลายในการอธิบายทัศนประสบการณ์ของตัวศิลปิน จนถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ศิลปินหลายคนรู้สึกถึงความต้องการที่จะสร้างสรรค์ศิลปะแนวใหม่ ซึ่งสามารถที่จะถ่ายทอดการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานของเทคโนโลยี, วิทยาศาสตร์ และปรัชญา ต้นตอที่ทำให้ศิลปินสร้างสรรค์งานศิลปะของตัวเองนั้นมีหลากหลาย และสะท้อนให้เห็นสภาพก่อนการเปลี่ยนแปลงทั้งทางสังคมและปัญญาในทุกแง่มุมของวัฒนธรรมยุโรปในขณะนั้น<ref>Mel Gooding, ''Abstract Art'', [[Tate Publishing Ltd|Tate Publishing]], London, 2000</ref>
 
ศิลปะนามธรรม ศิลปะไร้รูปแบบตายตัว ศิลปะไร้รูปธรรม และศิลปะไม่แสดงลักษณ์ คือศิลปะที่เกี่ยวข้องกันอย่างหลวมๆ แม้ในความหมายเชิงลึกอาจมีความแตกต่างกันก็ตาม
 
<!--Abstraction indicates a departure from reality in depiction of [[image]]ry in art. This departure from accurate representation can be only slight, or it can be partial, or it can be complete. Abstraction exists along a continuum. Even art that aims for verisimilitude of the highest degree can be said to be abstract, at least theoretically, since perfect representation is likely to be exceedingly elusive. Artwork which takes liberties, altering for instance color and form in ways that are conspicuous, can be said to be partially abstract. Total abstraction bears no trace of any reference to anything recognizable. In [[geometric abstraction]], for instance, one is unlikely to find references to naturalistic entities. [[Figurative art]] and total abstraction are almost [[Mutually exclusive events|mutually exclusive]]. But [[Figurative art|figurative]] and [[Representation (arts)|representational]] (or [[Realism (visual arts)|realistic]]) art often contains partial abstraction.
 
Both [[geometric abstraction]] and [[lyrical abstraction]] are often totally abstract. Among the very numerous [[art movements]] that embody partial abstraction would be for instance [[fauvism]] in which color is conspicuously and deliberately altered vis-a-vis reality, and [[cubism]], which blatantly alters the forms of the real life entities depicted.<ref>{{cite web|url=http://painting.about.com/od/abstractart/a/abstract_art.htm |title=Abstract Art - What Is Abstract Art or Abstract Painting, retrieved January 7, 2009 |publisher=Painting.about.com |date=2011-06-07 |accessdate=2011-06-11| archiveurl= http://web.archive.org/web/20110707075052/http://painting.about.com/od/abstractart/a/abstract_art.htm| archivedate= 7 July 2011 <!--DASHBot-->| deadurl= no}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.nga.gov/education/american/abstract.shtm |title=Themes in American Art - Abstraction, retrieved January 7, 2009 |publisher=Nga.gov |date=2000-07-27 |accessdate=2011-06-11| archiveurl= http://web.archive.org/web/20110608093226/http://www.nga.gov/education/american/abstract.shtm| archivedate= 8 June 2011 <!--DASHBot-->| deadurl= no}}</ref> -->
 
== ประวัติ ==
เส้น 15 ⟶ 22:
* ทำตามความต้องการของจิตใจ แสดงออกถึงความสวยงาม มากกว่าเนื้อหาหรือเรื่องราว
* เชื่อความรู้สึกของผู้สร้างสรรค์เป็นใหญ่มากกว่า ผู้ชมส่งเสริมให้ผู้ชมงานให้รู้จักคิด
 
== อ้างอิง ==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ศิลปะ]]