ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกหงส์หยก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 3:
| status = LC
| status_system = IUCN3.1
| status_ref =
<ref>{{IUCN2006|assessors=BirdLife International|year=2004|id=47988|title=Melopsittacus undulatus|downloaded=11 May 2006}} Database entry includes justification for why this species is of least concern</ref>
| image = Budgerigar-male-strzelecki-qld.jpg
| image_caption = นกหงส์หยก[[ตัวผู้]]ในธรรมชาติ ที่ออสเตรเลีย
| image_width =
บรรทัด 22:
| range_map = Budgerigar map.png
| range_map_width =
| range_map_caption = แผนที่้แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ (สีแดง)
}}
 
'''นกหงส์หยก''' ({{lang-en|Budgerigar}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Melopsittacus undulatus}}) เป็น[[นกปากขอ]]ขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ที่มีลวดลายและสีสันที่สวยงาม ถิ่นกำเนิดดั้งเดิมของนกหงส์หยกอยู่ตามแถบทุ่งหญ้าใน[[ประเทศออสเตรเลีย]] มี[[ชื่อเล่น|ชื่อเรียกเล่น ๆ]] ว่า "บั๊ดจี้ส์" (Budgies) หรือ "พาราคีท" (Parakeet) ครั้งหนึ่ง ผู้คนทั่วไปเคยเข้าใจว่านกหงส์หยกเป็นนกที่อยู่ในจำพวก[[นกเลิฟเบิร์ด]] แต่ในปัจจุบันได้ยอมรับกันแล้วว่าเป็นนกคนละจำพวกกัน โดยผู้ที่ทำการ[[อนุกรมวิธาน]] คือ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ [[John Gould|จอห์น กูลด์]] ที่เข้าไปศึกษาธรรมชาติวิืทยาวิทยาที่ออสเตรเลียเมื่อกว่า 100 ปีมาแล้ว <ref name="kapook">[http://pet.kapook.com/view1319.html นกหงส์หยก จาก[[กระปุกดอตคอม]]]</ref> โดยถือเป็นนกเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล ''Melopsittacus''<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=177597 จาก itis.gov]</ref>
 
โดยทั่วไปแล้วสีตามธรรมชาติ นกหงส์หยกมักมีขนสีเขียว, ฟ้า, เหลือง และขาว แต่ปัจจุบันได้มีการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีความหลากหลายออกไปจากสีดั้งเดิมตามธรรมชาติในฐานะของการเป็น[[สัตว์เลี้ยง]] โดยมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันตามลักษณะ อาทิ "โอแพล์ลิน", "อัลบิโนส์" และ"ลูติโนส์"<ref>[http://www.vet.ku.ac.th/library-homepage/article/poultry/l_bir/zebra_parakeet_n.htm นกหงส์หยก]</ref>
บรรทัด 33:
นกหงส์หยกเป็นนกเร่ร่อนพบในที่อยู่อาศัยแบบเปิด, ส่วนใหญ่ในทุ่งไม้พุ่ม, บริเวณที่เป็นป่าเปิด และทุ่งหญ้าของออสเตรเลีย นกที่พบตามปกติจะอยู่ในฝูงขนาดเล็ก แต่สามารถอยู่ร่วมกันในฝูงที่ใหญ่มากในกรณีที่ถิ่นที่อยู่ดีมาก เป็นนกที่มีการเร่ร่อนมาก และการเคลื่อนย้ายจะเป็นไปตามความอุดมสมบูรณ์ของ[[อาหาร|แหล่งอาหาร]]และ[[น้ำ]]<ref name=forshaw>{{cite book | first=Joseph Michael| last=Forshaw | authorlink= | coauthors= William T. Cooper| year= 1973 & 1981| title= Parrots of the World| edition= 1st and 2nd| publisher= | location= | isbn=0-87666-959-3}}</ref>
 
== สัตว์เลี้ยง ==
ปัจจุบัน นกหงส์หยกเป็นนกที่ได้รับความนิยมอย่างมากในฐานะเป็นสัตว์เลี้ยง จัดเป็นนกที่เลี้ยงง่ายเพาะขยายพันธุ์ได้ง่าย มีราคาถูก ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาสายพันธุ์ต่าง ๆ จนมีสีสันและลวดลายต่าง ๆ สวยงามกว่าในธรรมชาติ โดยพฤติกรรมตามธรรมชาติ นกหงส์หยกจะอยู่รวมกันเป็นฝูง ดังนั้นถ้าเลี้ยงรวมในกรงใหญ่ นกจะมีปฏิสัมพันธ์กันเอง แต่ถ้าเลี้ยงเพียงตัวเดียวหรือคู่เดียว ก็ควรมีของเล่นต่าง ๆ ให้ หรือ[[กระจก]] สำหรับส่องเพื่อที่นกจะเข้าใจว่ามีตัวอื่นอยู่ร่วมด้วย และใช้สำหรับส่องเพื่อไซ้แต่งขน อาหารหลักของนกหงส์หยก คือ [[ข้าวฟ่าง]], [[ผัก]]ใบเขียวชนิดต่าง ๆ และอาจให้แร่ธาตุเสริม คือ [[แคลเซียม]] จาก[[ลิ่นทะเล]]หรือกระัดองกระดองปลาหมึกด้วย
 
สถานที่เลี้ยงควรเป็นที่โปร่ง อากาศถ่ายเทได้ดี ผู้เลี้ยงควรที่จะฉีดสเปรย์น้ำเพื่อที่จะทำความสะอาดนกด้วย การจำแนกเพศของนกหงส์หยก สังเกตได้ที่จมูก ในนกตัวผู้เมื่อเจริญเต็มที่หรือพร้อมที่จะผสมพันธุ์ จะเป็นสีฟ้าเข้ม และในนกตัวเมียนั้นจมูกของนกเมื่อเจริญเต็มที่หรือพร้อมที่จะผสมพันธุ์ จมูกของนกจะมีสีออกเป็นสีเนื้อหรือสีน้ำตาลเข้ม สีดังกล่าวจะเข้มขึ้นเรื่อย ๆ เมื่ออยู่ใน[[ฤดูผสมพันธุ์]] นกหงส์หยกจะจับคู่เมื่อมันพร้อมที่จะผสมพันธุ์ โดยสังเกตได้จาก นกอยู่กันเป็นคู่ ไซ้ขนให้กัน จะคอยป้อนอาหารให้กัน<ref name="kapook"/> โดยเข้า่สู่เข้าสู่[[วัยเจริญพันธุ์]]เมื่ออายุได้ราว 11 เดือน หรือ 1 ปี วางไข่ครั้งละ 4-8 ฟอง ระยะฟักตัวประมาณ 18-20 วัน ลูกนกจะโผล่พ้นรังเมื่ออายุได้ 4-5 สัปดาห์<ref>[http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=14e654ab57bc2912 วิธีเลี้ยงนกหงส์หยก]</ref>
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 44:
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Melopsittacus undulatus}}
{{wikispecies-inline|Melopsittacus undulatus}}
* [http://www.parrots.org/index.php/encyclopedia/profile/budgerigar/ World Parrot Trust] Parrot Encyclopedia&nbsp;— Species Profiles
<!-- PLEASE DO NOT ADD LINKS without discussing on the talk page. -->
* [http://www.holisticbirds.com/pages/budgie0601.htm A True Ambassador: the Budgerigar] Referenced article on budgerigars
* [http://web.archive.org/web/20080311181602/http://www.budgietalk.com/mutations.html Common Budgie Mutations] Illustrated list of common budgerigar mutations
* [http://www.budgieplace.com/colorsguide.html Budgie colors and mutations] Budgerigar mutations with illustrations
* [http://ibc.lynxeds.com/species/budgerigar-melopsittacus-undulatus wild Budgerigar videos] on the Internet Bird Collection
* [http://www.birdencyclopedias.com นก] สารานุกรมนก
 
[[หมวดหมู่:นกแก้ว]]