ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แจ็กสัน พอลล็อก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: als:Jackson Pollock
HahaBig (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''แจ็คสัน พอลล็อก''' ({{lang-en| '''Jackson Pollok'''}}) เป็นจิตรกรชาว[[อเมริกัน]]ยุคศตวรรษที่ 20 และเป็นผู้นำขบวนการเขียนภาพแนว[[แอบสเตรค เอ็กเพรสชันนิสม์]] (Abstract-expressionism) ซึ่งเป็นการทำงานศิลปะโดยการหยด สาด หรือเทสีลงบนผ้าใบ โดยไม่ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบศิลป์ หรือแบบแผนใด ๆ แต่ปล่อยให้จิตสำนึกเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะชิ้นนั้น พอลล็อกได้รับสมญานามว่า แจ๊ค เดอะ ดริปเปอร์ (Jack The Dripper) จากนิตยสารไทม์ โดยใช้วิธีการเทสีสไตล์การเขียนภาพที่เรียกว่า หรือจิตรกรรมแอ๊คชั่น (action painting) ด้วยการสาด เท หยด สลัดสีลงบนผืนผ้าใบขนาดใหญ่ แสดงถึงความเคลื่อนไหวว่องไวและมีพลัง ด้วยผลงานที่น่าสนใจ และวิธีการซึ่งเป็นเอกลักษณ์นี้ ทำให้เขามีชื่อเสียง และผลงานของเขาหลายๆชิ้นมีราคาสูงหลายล้านดอลล่าร์และปัจจุบันเป็นภาพเขียนที่มีการซื้อขายที่มีราคาสูงที่สุดในโลก
 
[[ไฟล์:Pollock-barn.jpg|thumb|right|200px|โรงนาที่ แจ็คสัน พอลล็อก ใช้เป็นสตูดิโอสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ]]
== ประวัติ ==
 
แจ็คสัน พอลล็อก เกิดเมื่อวันที่ 28 มกราคม 24551912 ที่เมืองโคดี [[รัฐไวโอมิง]] [[สหรัฐอเมริกา]] เขาเป็นลูกคนสุดท้องในจำนวนพี่น้อง 5 คน ในปีค.ศ. 1912 พอลล๊อคเข้าเรียนลล๊อกเข้าเรียน[[ไฮสกูล]] ที่ Losangles's Manual Arts High School ใน[[ลอสแอนเจลิส]] และในปีค.ศ1930 เมื่ออายุได้ราว 17 ปี เขาได้ย้ายไปที่[[รัฐนิวยอร์ก]]เพื่อเข้าศึกษาต่อที่ The Art Students League ภายใต้การสอนของ โธมัส ฮาร์ท เบนตัน (Thomas Hart Benton) จิตรกรเขียนภาพฝาผนัง ผู้ซึ่งมีอิทธิพลต่อการวาดภาพของเขาในขณะนั้นเป็นอย่างมาก
 
ปีค.ศ 1936 พอลล็อกเข้าทำงานที่สตูดิโอของ Siqueiros ซึ่งเป็นศิลปินชาวเม็กซิกันที่ทำให้เขาได้รับอิทธิพลในการเขียนภาพในช่วงนี้ ซึ่งนิยมการแสดงออกอย่างรุนแรง และต่อมาได้รับแรงบันดาลใจจาก ปิกัสโซ และพวกเซอเรียลลิสต์
 
ในปีค.ศ 1941 พอลล็อกตกอยู่ในสภาพย่ำแย่สุด ติด[[เหล้า]]หนักงอมแงม เขาได้อาศัยอยู่กับพี่ชาย จนภรรยาของพี่ชายไม่พอใจ ต้องพาครอบครัวและแม่ย้ายหนีไป จุดเปลี่ยนของชีวิตพอลล็อก คือการได้พบกับ [[ลี แครสเนอร์]] (Lee Krasner) จิตรกรหญิงผู้เชื่อมั่นในความสามารถของพอลล็อก จากนั้นทั้งสองก็ย้ายมาสร้างสตูดิโอทำงานศิลปะด้วยกันที่[[ลองไอส์แลนด์]] นิวยอร์ก ทั้งสองได้แต่งงานกัน แต่มีข้อสัญญาตกลงกันว่าพอลล็อกจะต้องเลิกดื่มเหล้าและหันมาสร้างงานศิลปะอย่างจริงจัง
พอลล็อก เป็นคนขี้โมโห อารมณ์ร้อน และไม่อดทนต่อคำวิพากษ์วิจารณ์ ด้วยความที่ พอลล็อกเป็นคนขี้โมโห อารมณ์ร้อน และติด[[เหล้า]] งานศิลปะที่เขาสร้างสรรค์ขึ้นมาในแนว[[แอบสเตรค]]จึงไม่ประสบความสำเร็จ เมื่อผลงานไม่ประสบความสำเร็จ และไม่ได้รับการยอมรับ เขาจึงเก็บตัวเครียดและกินเหล้าอยู่เสมอ
 
ในช่วงปี 1938-1944 เขาได้เข้ารับการรักษาโรคพิษสุราเรื้อรัง และได้ศึกษาผลงานและทฤษฎีของ[[คาร์ล จุง]] (Carl Jung) นักจิตแพทย์ชาว[[สวิส]]ที่ได้ชื่อว่าเป็นนักคิดที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่ง ซึ่งทำให้พอลล๊อคเกิดอิทธิพลกับงานของเขา งานขอพอลล็อกในช่วงนี้จะแฝงไปด้วยความสงสัย และปริศนาต่างๆ
ในปีค.ศ 1941 พอลล็อกตกอยู่ในสภาพย่ำแย่สุด ติดเหล้าหนักงอมแงม เขาได้อาศัยอยู่กับพี่ชาย จนภรรยาของพี่ชายไม่พอใจ ต้องพาครอบครัวและแม่ย้ายหนีไป
หลังจากที่พอลล๊อคลล๊อกกลับมาสร้างผลงานศิลปะอีกครั้ง ผลงานของเขาจึงไปเข้าตา [[เพ็กกี้ กุกเกนไฮน์]] (Peggy Guggenheim) เจ้าของแกลเลอรี่ใหญ่ในนิวยอรค์ กุกเกนไฮน์ยอมจัดแสดงงานเดี่ยวให้พอลล็อก แม้จะขายภาพไม่ได้เลยแต่พอลล็อกก็เริ่มเป็นที่สนใจในวงการ[[ศิลปะ]] และเป็นจุดเริ่มต้นให้เขาได้ค้นพบวิธีการสร้างงานรูปแบบใหม่ เมื่อต้องไปวาดผนังบ้านพักของกุกเกนไฮน์เป็นค่าตอบแทนตามสัญญา อาการเครียดและอยากเก็บตัวเริ่มเกิดขึ้นกับพอลล็อกอีกครั้ง แครสเนอร์ คอยให้กำลังใจพอลล็อกอยู่เสมอ ภายหลังทั้งคู่จึงตัดสินใจหลบความวุ่นวายในเมือง และย้ายไปหาความสงบในชนบท และใช้โรงนาเป็น[[สตูดิโอ]]สร้างสรรค์งานศิลปะ
 
เมื่อพอลล็อกมีเวลาเต็มที่ สำหรับสร้างสรรค์งานศิลปะ วันหนึ่งเขาค้นพบเทคนิคการเขียนภาพแบบใหม่โดยบังเอิญ ขณะกระป๋องสีล้มใส่ภาพที่เขากำลังเขียน ต่อมาเรียกเทคนิคแบบนี้ว่า [[กัมมันตจิตรกรรม]] (Action Panting) หรือ [[เอ็กเพรสชั่นนิสม์]]เชิงนามธรรม]] (Abstract Expressionnist) ซึ่งเป็นการสร้างงาน[[ศิลปะ]]โดยการหยด สาด หรือ เทสีลงบนผ้าใบ โดยไม่ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบศิลป์ หรือ แบบแผนใดๆ แต่ปล่อยให้จิตสำนึกของศิลปินเป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปะชิ้นนั้นแต่พอลล็อกก็ยังยืนยันว่าผลงานศิลปะของเขาไม่ได้เกิดขึ้นโดยเหตุบังเอิญเพราะเขาสามารถควบคุมมันได้ รูปแบบงานของพอลล็อกเป็นแบบเฉพาะตัว ทำให้เขากลายเป็น[[ศิลปิน]]ที่มีชิอเสียง มีเงินทอง และชีวิตประจำวันที่เปลี่ยนแปลงไป แต่ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ทำให้พอลล็อกรู้สึกหวั่นไหวและหวาดกลัว เขาเริ่มหันไปเที่ยวเตร่และติดเหล้างอมแงมอีกครั้ง ภายใต้ความเศร้าเสียใจที่ไม่สามารถมีลูกกับ ลี แครสเนอร์ได้เพราะฝ่ายหญิงไม่ยอมเขาจึงทิ้งแครสเนอร์ไปมีเนอร์ และหันไปคว้า[[ภรรยา]]คนใหม่ที่ชื่อ รูธ หญิงสาวอ่อนวัยมาทดแทน แต่ความทุกข์ระทมในจิตใต้สำนึกของเขา ก็ไม่เคยจางหาย
จุดเปลี่ยนของชีวิตพอลล็อก คือการได้พบกับ [[ลี แครสเนอร์]] (Lee Krasner) จิตรกรหญิงผู้เชื่อมั่นในความสามารถของพอลล็อก จากนั้นทั้งสองก็ย้ายมาสร้างสตูดิโอทำงานศิลปะด้วยกันที่[[ลองไอส์แลนด์]] นิวยอร์ก ทั้งสองได้แต่งงานกัน แต่มีข้อสัญญาตกลงกันว่าพอลล็อกจะต้องเลิกดื่มเหล้าและหันมาสร้างงานศิลปะอย่างจริงจัง
 
แจ็กสัน พอลล็อก ได้ถึงแก่กรรมในปี 1956 จากอุบัติเหตุทางรถยนต์เมื่อเขาขับรถกลับบ้านด้วยอาการ[[เมา]] ที่เซาต์แธมตัน นิวยอร์ก ขณะมีอายุ 44 ปี
ในช่วงปี 1938-1944 เขาได้เข้ารับการรักษาโรคพิษสุราเรื้อรัง และได้ศึกษาผลงานและทฤษฎีของ[[คาร์ล จุง]] (Carl Jung) นักจิตแพทย์ชาว[[สวิส]]ที่ได้ชื่อว่าเป็นนักคิดที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งซึ่งทำให้พอลล๊อคเกิดอิทธิพลกับงานของเขา งานขอพอลล็อกในช่วงนี้จะแฝงไปด้วยความสงสัย และปริศนาต่างๆ
 
หลังจากที่พอลล๊อคกลับมาสร้างผลงานศิลปะอีกครั้ง ผลงานของเขาจึงไปเข้าตา [[เพ็กกี้ กุกเกนไฮน์]] (Peggy Guggenheim) เจ้าของแกลเลอรี่ใหญ่ในนิวยอรค์ กุกเกนไฮน์ยอมจัดแสดงงานเดี่ยวให้พอลล็อก แม้จะขายภาพไม่ได้เลยแต่พอลล็อกก็เริ่มเป็นที่สนใจในวงการ[[ศิลปะ]] และเป็นจุดเริ่มต้นให้เขาได้ค้นพบวิธีการสร้างงานรูปแบบใหม่ เมื่อต้องไปวาดผนังบ้านพักของกุกเกนไฮน์เป็นค่าตอบแทนตามสัญญา อาการเครียดและอยากเก็บตัวเริ่มเกิดขึ้นกับพอลล็อกอีกครั้ง แครสเนอร์ คอยให้กำลังใจพอลล็อกอยู่เสมอ ภายหลังทั้งคู่จึงตัดสินใจหลบความวุ่นวายในเมือง และย้ายไปหาความสงบในชนบท และใช้โรงนาเป็น[[สตูดิโอ]]สร้างสรรค์งานศิลปะ
 
== อุปนิสัย ==
เมื่อพอลล็อกมีเวลาเต็มที่ สำหรับสร้างสรรค์งานศิลปะ วันหนึ่งเขาค้นพบเทคนิคการเขียนภาพแบบใหม่โดยบังเอิญ ขณะกระป๋องสีล้มใส่ภาพที่เขากำลังเขียน ต่อมาเรียกเทคนิคแบบนี้ว่า [[กัมมันตจิตรกรรม]] (Action Panting) หรือ [[เอ็กเพรสชั่นนิสม์]]เชิงนามธรรม (Abstract Expressionnist) ซึ่งเป็นการสร้างงานศิลปะโดยการหยด สาด หรือ เทสีลงบนผ้าใบ โดยไม่ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบศิลป์ หรือ แบบแผนใดๆ แต่ปล่อยให้จิตสำนึกของศิลปินเป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปะชิ้นนั้นแต่พอลล็อกก็ยังยืนยันว่าผลงานศิลปะของเขาไม่ได้เกิดขึ้นโดยเหตุบังเอิญเพราะเขาสามารถควบคุมมันได้ รูปแบบงานของพอลล็อกเป็นแบบเฉพาะตัว ทำให้เขากลายเป็น[[ศิลปิน]]ที่มีชิอเสียง มีเงินทอง และชีวิตประจำวันที่เปลี่ยนแปลงไป แต่ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ทำให้พอลล็อกรู้สึกหวั่นไหวและหวาดกลัว เขาเริ่มหันไปเที่ยวเตร่และติดเหล้างอมแงมอีกครั้ง ภายใต้ความเศร้าเสียใจที่ไม่สามารถมีลูกกับ ลี แครสเนอร์ได้เพราะฝ่ายหญิงไม่ยอมเขาจึงทิ้งแครสเนอร์ไปมี[[ภรรยา]]ใหม่ แต่ความทุกข์ระทมในจิตใต้สำนึก ก็ไม่เคยจางหาย
 
แจ็คสัน พอลล็อก ตลอดชีวิตเขาพบแต่ความผิดหวัง เขาเป็นคนขี้โมโห อารมณ์ร้อน และไม่อดทนต่อคำวิพากษ์วิจารณ์ จนครั้งหนึ่ง จิม สวีนีย์ แสดงความเห็นไว้ในบทความว่าพอลล็อคเป็นคนไม่มีหลักเกณฑ์ ทำให้พอลล็อคโมโหมาก จึงลงมือเขียนภาพ Search for a Symbol แล้วหิ้วภาพนี้ไปพบสวีนีย์ พร้อมกับพูดว่า “ผมต้องการให้คุณเห็นว่า ภาพที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์เป็นอย่างไร” แต่อย่างไรก็ตามด้วยความที่ พอลล็อกเป็นคนขี้โมโห อารมณ์ร้อน และติดเหล้าอย่างหนัก ในระยะแรกก่อนที่เขาจะค้นพบตัวเอง เขาได้สร้างงานศิลปะขึ้นในแนวแอบสเตรคแต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ เมื่อผลงานไม่ประสบความสำเร็จ และไม่ได้รับการยอมรับ เขาจึงเก็บตัวเครียดและกินเหล้าอยู่เสมอ แต่ด้วยนิสัยส่วนตัวเช่นนี้นี่เอง ที่ทำให้พอลล็อคลงมือทำงานอย่างจริงจังเพื่อแสดงตัวตนและลบคำสบประมาท จนเขาได้รับการยกย่องยอมรับว่าเป็นผู้นำขบวนการเขียนภาพแนวเอ็กเพรสชั่นนิสม์นามธรรม (abstract-expressionism) พร้อมกับเป็นต้นแบบสไตล์การเขียนภาพที่เรียกว่า จิตรกรรมแอ๊คชั่น (action painting)
 
 
== รูปแบบการทำงาน ==
 
ในปี 1944 พอลล็อกได้กล่าวถึงอิทธิพลทางความคิดต่างๆที่เขาได้รับมา ไม่ว่าจาก โทมัส ฮาร์ต เบนตัน , ศิลปะของชนเผ่าอเมริกันพื้นเมือง หรืออินเดียนแดง ซึ่งมีวิธีการสร้างงานศิลปะบนพื้นทราย รวมไปถึงศิลปินชื่อดังอย่าง [[ปิกัสโซ่]] และมักซ์ แอนส์ ทำให้เขาได้แรงบันดาลใจในการสร้างงานศิลปะที่แหวกแนวสุดๆในสมัยนั้น
 
เทคนิคการวาดภาพของเขานับว่าแปลกแหวกแนวที่สุด เขาไม่ชอบใช้แปรงหรือพู่กัน แต่นิมใช้สีกระป๋องหยดราดบนผืนผ้าใบซึ่งวางนอนราบกับพื้นห้อง ซึ่งเขามีแนวคิดว่า ไม่ต้องการความยุ่งยาก และสามารถทำให้เดินได้รอบๆผืนผ้าใบ ซึ่งวิธีการนี้คล้ายคลึงกับวิธีการของจิตรกรชาว[[อินเดียนแดง]]ทางซีกตะวันตก และกระทั่งใช้เครื่องมือต่างๆเช่น ด้ามแปรง เกรียงขนาดใหญ่ มีด ฯลฯ
 
ผลงานของเขาเต็มไปด้วยความรุนแรง มีความเด็ดขาดและอิสระเสรีอย่างถึงที่สุด รอยทับซับซ้อนของสีที่ถูกโรยราดบนผืนผ้าก่อให้เกิดมิติต่างๆ แรงเหวี่ยงสะบัดทำให้เกิดความรุนแรงของลีลา สิ่งเหล่านี้ต่างเร้าอารมณ์ผู้ชมได้อย่างดียิ่ง ซึ่งผลงานของเขานั้นได้ทำให้เกิดการพัฒนาก้าวหน้าแก่ศิลปินอเมริกันในสมัยหลังเป็นอย่างมาก
 
แจ็กสัน พอลล็อก ได้ถึงแก่กรรมในอุบัติเหตุทางรถยนต์เมื่อเขาขับรถกลับบ้านด้วยอาการ[[เมา]]ขณะมีอายุ 44 ปี
 
== ภาพยนตร์ชีวประวัติ ==
 
เรื่องราวของพอลล็อก ถูกนำมาสร้างเป็นหนังสารคดี 2 ครั้ง ในครั้งแรกคือ JACKSON POLLOK ปี 1987 โดยผู้กำกับ [[คิม อีแวนส์]] อีกเรื่องหนึ่งชื่อ Jackson Pollok : Love and death on Long Island ปี 1999 โดย [[เทเรซ่า กริฟฟิธส์]] เป็นประวัติชีวิตและผลงาน รวมทั้งภาพการทำงานของพอลล็อก นอกจากนี้ยังมีบทสัมภาษณ์ของ ลี แครสเนอร์ และเพื่อนๆ ศิลปินอีกด้วย หนังเรื่องนี้ได้รับความนิยมมากมายโดยเฉพาะ ถึงกับทำให้ผู้ชมติดตราตรึงใจ กับ [[เอ็ด แฮร์ริส]] ผู้รับบทแสดงเป็น แจ็คสัน พอลล็อก จนหลายคนให้ทัศนะคติว่า สองคนนี้ช่างมีทุกสิ่งอย่างที่คล้ายกันเหลือเกิน
 
สำหรับ Pollock หนังเริ่มต้นในปี 1941 เมื่อพอลล็อค (แฮร์ริส) ตกอยู่ในสภาพย่ำแย่ ติดเหล้างอมแงม อาศัยอยู่กับ แซนดี้ (โรเบิร์ต นอตต์) พี่ชาย จนภรรยาของแซนดี้ไม่พอใจ ต้องพาแซนดี้และแม่ย้ายหนีไป จุดเปลี่ยนของชีวิตพอลล็อคคือการได้พบ ลี แครสเนอร์ (มาร์เซีย เกย์ ฮาร์เดน) จิตรกรหญิงผู้เชื่อมั่นในความสามารถของพอลล็อค แครสเนอร์แต่งงานกับเขาโดยมีข้อตกลงว่าพอลล็อคต้องเลิกดื่มเหล้าและมุ่งมั่นสร้างงานศิลปะ ซึ่งนี่เป็นส่วนหนึ่งในภาพยนตร์ซึ่งยกมาจากชีวิตจริงของเขา
 
“คุณค่า” ของหนังแนวชีวประวัติอย่าง Pollock ไม่ใช่การสะท้อนภาพของศิลปินซึ่งเป็นที่สนใจของผู้ชมทั่วไป แต่เป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงหรือแนะนำให้รู้จักเสียมากกว่า ซึ่งแฮร์ริสก็ทำในจุดนี้ได้ดี เพราะนอกจากผู้ชมจะได้รู้จักพอลล็อคแล้ว ยังได้เห็นวิธีการทำงานศิลปะซึ่งแปลกและแตกต่างจากศิลปินคนอื่นๆ
 
หนังเรื่องนี้ได้รับความนิยมมากมายโดยเฉพาะ ถึงกับทำให้ผู้ชมติดตราตรึงใจ กับ [[เอ็ด แฮร์ริส]] ผู้รับบทแสดงเป็น แจ็คสัน พอลล็อก จนหลายคนให้ทัศนะคติว่า สองคนนี้ช่างมีทุกสิ่งอย่างที่คล้ายกันเหลือเกิน
 
 
== ผลงานที่สำคัญ ==
เส้น 56 ⟶ 73:
* (1953) "Ocean Greyness"
* (1953) "The Deep"
 
 
== อ้างอิง ==
 
* กำจร สุนพงษ์ศรี. ศิลปะสมัยใหม่ (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554)หน้า 423-426.
 
* จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. โลกศิลปะศตวรรษที่ 20 (กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2545).
 
* บาร์บารา เฮสส์. แอ็บสแตรกต์ เอกซ์เพรสชั่นนิสม์. อนิมา ทัศจันทร์ แปลจาก Abstract Expressionism (เชียงใหม่ : ไฟน์อาร์ท, 2552).
 
* Francis W. O’Connor. Jackson Pollock (Newyork: The Museum of Modern Art, 1967).
 
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==