ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาทมิฬ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: pa:ਤਾਮਿਲ ਬੋਲੀ
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (Robot: Modifying pa:ਤਾਮਿਲ ਬੋਲੀ to pa:ਤਾਮਿਲ ਭਾਸ਼ਾ; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 20:
'''ภาษาทมิฬ''' ({{lang-ta|தமிழ்}}; {{Audio|Tamil.ogg|{{IPA|[t̪ɐmɨɻ]}}}}) เป็นหนึ่งใน [[ตระกูลภาษาดราวิเดียน]] เป็นหนึ่งใน[[ภาษาคลาสสิก]]ของโลก [[วรรณกรรมภาษาทมิฬ]]ได้มีมาเป็นเวลา 2,500 ปีแล้ว และเป็นภาษาคลาสสิกภาษาแรกที่มีพัฒนาการเขียนแบบเฉพาะสำหรับบทกวี
 
เสียง "l" ในคำว่า "Tamil" ออกเสียง "คล้าย" กับ "ร" กล่าวคือ ออกเสียงโดยให้ปลายลิ้นส่วนล่างติดกับเพดานปาก และมักจะเขียนเป็น "zh" ในอักษรโรมัน (ตรงกับเสียง j ในภาษาฝรั่งเศส ส่วนภาษาไทยไม่มีเสียงที่เทียบได้ตรง) เชื่อว่าอักษร 'ழ' ซึ่งพบใน 'தமிழ்' (ทมิฬ) มีการออกเสียงที่เป็นเอกลักษณ์ที่ไม่พบในภาษาอื่น ๆ ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ [[อักษรทมิฬ]]
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 38:
ภาษาทมิฬเป็นภาษาหลักใน[[รัฐทมิฬนาฑู]]ของอินเดียและ[[จังหวัดตะวันออกเฉียงเหนือ]]ของศรีลังกา และใช้พูดโดยชนกลุ่มเล็กๆในพื้นที่อื่นๆของทั้งสองประเทศนี้ เช่น [[รัฐกรณาฏกะ]] [[รัฐเกรละ]] [[รัฐอานธรประเทศ]] และ[[รัฐมหาราษฏระ]]ของอินเดีย รวมทั้ง[[โคลอมโบ]]และทางตะวันออกของศรีลังกา
 
จากการอพยพของสมัยอาณานิคมทำให้ปัจจุบันมีผู้พูดภาษาทมิฬกระจายไปในหลายประเทศ เช่น อินโดนีเซีย <ref>Ramstedt 243</ref> ไทย <ref>Kesavapany 60</ref> มาเลเซีย สิงคโปร์ พม่า เวียดนาม แอฟริกาใต้และมอริเชียส นอกจากนั้นยังพบบ้างในกายอานา ฟิจิ ซูรินาเม ตรินิแดดและโตเบโก คนเหล่านี้เป็นคนที่พูดภาษาทมิฬมาก่อน <ref name="ucberkeleydiaspora"> {{cite web|url=http://www.lib.berkeley.edu/SSEAL/SouthAsia/overview.html |title=Overview of the South Asian Diaspora |accessdate=2008-04-23 |last=McMahon |first=Suzanne |publisher=University of California, Berkeley }}</ref> แต่ปัจจุบันเริ่มหันไปพูดภาษาอื่น และยังมีผู้อพยพจากอินเดียและศรีลังกาไปอยู่ที่แคนาดา สหรัฐ ออสเตรเลีย ตะวันออกกลาง และยุโรปตะวันตก
สถานะทางกฎหมาย
ภาษาทมิฬเป็นภาษาราชการของรัฐทมิฬนาฑู เป็นภาษาราชการร่วมใน[[สหภาพพอนดิเชอรี]]<ref>Ramamoorthy, L. [http://www.languageinindia.com/feb2004/multilingual.html Multilingualism and Second Language Acquisition and Learning in Pondicherry]. Retrieved on 2007-08-16.</ref> และ[[หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์]] <ref>Sunwani, Vijay K. [http://www.languageinindia.com/feb2007/northeasternstates.pdf Amazing Andamans and North-East India: A Panoramic View of States, Societies and Cultures]. Retrieved on 2007-08-16.</ref> เป็นหนึ่งในภาษาประจำชาติ 23 ภาษาของอินเดีย เป็นภาษาราชการร่วมของศรีลังกาและสิงคโปร์ ในมาเลเซียมีโรงเรียนประถมศึกษา 543 แห่งสอนเป็นภาษาทมิฬ<ref>http://ccat.sas.upenn.edu/~haroldfs/540/handouts/sparadox/sparadox.html</ref>
บรรทัด 51:
ความแตกต่างของภาษาทมิฬขึ้นกับการเปลี่ยยนแปลงการออกเสียงที่ต่างไปจากภาษาทมิฬโบราณ เช่นคำว่า ที่นี่ (iṅku) ในสำเนียงคลาสสิกกลายเป็น iṅkū ในสำเนียงโกนคู inga ในสำเนียงธันชวูร์ และ iṅkai ในบางสำเนียงของศรีลังกา คำว่า iṅkaṇ ในภาษาทมิฬโบราณเป็นแหล่งที่มาของ iṅkane ในสำเนียงติรูเนลเวลี ภาษาทมิฬโบราณ iṅkaṭṭu เป็นที่มาของ iṅkuṭṭu ในสำเนียงมาดูไร และ iṅkaṭe ในสำเนียงทางเหนืออื่นๆ แม้ว่าปัจจุบันในโจอิมบาตอเรจะเป็นปกติที่จะได้ยิน akkaṭṭa ซึ่งหมายถึงสถานที่นี้ สำเนียงของภาษาทมิฬไม่ได้ต่างกันทางด้านคำศัพท์มากนัก สำเนียงในศรีลังกายังคงรักษาคำศัพท์และรูปแบบไวยากรณ์ที่ไม่พบในการพูดในชีวิตประจำวันในอินเดียและใช้คำบางคำต่างไปบ้าง
== ความแตกต่างระหว่างภาษาพูดและภาษาเขียน ==
ภาษาทมิฬมีรูปแบบที่แตกต่างกันหลายแบบ เช่น รูปแบบวรรณคดีคลาสสิกที่มาจากภาษายุคโบราณ (สันกัตตามิฬ) รูปแบบการเขียนสมัยใหม่และเป็นทางการ (เจนตามิฬ) และรูปแบบสมัยใหม่สำหรับการพูด (โกฏูนตามิฬ) แต่ละรูปแบบอาจมีลักษณะร่วมกัน เช่น เป็นไปได้ที่จะเขียนแบบเจนตามิฬโดยใช้รูปศัพท์ที่ต่ำกว่า เรียกเจญกัตตามิฬ หรือใช้รูปแบบที่เกี่ยวข้องกับสำเนียงใดสำเนียงหนึ่งกับโกฏูนตามิฬ <ref>Harold Schiffman, "[http://ccat.sas.upenn.edu/~haroldfs/messeas/diglossia/handbuk.html Diglossia as a Sociolinguistic Situation]", in Florian Coulmas (ed.), ''The Handbook of Sociolinguistics''. London: Basil Blackwell, Ltd., 1997 at pp. 205 et seq.</ref>
 
 
บรรทัด 145:
''บทความหลัก:[[ไวยากรณ์ภาษาทมิฬ]]''
 
ไวยากรณ์ภาษาทมิฬส่วนใหญ่ได้บรรยายไว้ในตำราไวยากรณ์เก่าสุด "โตลกาปปิยัม" การเขียนภาษาทมิฬสมัยใหม่ใช้ตามตำราไวยากรณ์ เมื่อราว พ.ศ. 1800 Nannūl ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไปจากโตลกาปปิยัมบ้าง ภาษาทมิฬโบราณแบ่งเป็น5ส่วนคือ eluttu, col, porul, yāppu และ ani สองส่วนหลังมักใช้ในวรรณคดี
 
ภาษาทมิฬเป็นภาษารูปคำติดต่อเช่นเดียวกับตระกูลภาษาดราวิเดียนอื่นๆ คำภาษาทมิฬประกอบด้วยรากศัพท์ ซึ่งจะต่อท้ายด้วยปัจจัย 1ตัวหรือมากกว่า ปัจจัยเหล่านี้มีทั้งที่เปลี่ยนความหมายหรือชนิดของคำ และปัจจัยที่แสดงการผันตามบุคคล จำนวน มาลาและกาล ไม่มีข้อกำหนดเกี่ยวกับความยาวของการเติมปัจจัย ทำให้มีการสร้างคำขนาดยาว ประกอบด้วยปัจจัยหลายตัวได้
บรรทัด 156:
{{ภาษาราชการอินเดีย}}
{{ภาษาทางการอาเซียน}}
 
[[หมวดหมู่:ภาษาทมิฬ| ]]
 
เส้น 226 ⟶ 227:
[[oc:Tamol]]
[[or:ତାମିଲ ଭାଷା]]
[[pa:ਤਾਮਿਲ ਬੋਲੀਭਾਸ਼ਾ]]
[[pl:Język tamilski]]
[[pms:Lenga Tamil]]