ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีกรด–เบส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Indicateur chou rouge.jpg | thumb | right | 250px| สีของสารละลายกรดที่ pH ต่างๆ โดยมีน้ำกระหล่ำปลีแดงคั้นเป็นอินดิเคเตอร์]]
'''ทฤษฎีกรด-เบส''' ({{lang-en|Acid-Base Theory}}) เป็น[[ทฤษฎี]]ที่ว่าด้วย [[นิยาม]]หรือคำจำกัดความ (definition) ของ[[สารเคมี]]ที่มีสมบัติเป็น[[กรด]]และ[[เบส]] โดยทั่วไปแล้ว ทฤษฎีกรด-เบสที่สำคัญ ได้อิงตามคำจำกัดความของนักเคมีที่สำคัญได้แก่ อาร์รีเนียส (Arrhenius) เบรินสเตด-ลาวรี (Brønsted-Lowry acid) และลิวอิส (Lewis) อย่างไรก็ตาม ยังมีนิยามที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาสมบัติในการโพลาไลซ์ของโมเลกุล คือ กรด-เบสแบบฮาร์ด-ซอฟต์ (Hard-Soft Acids-Bases: HSAB) และกฎของฟาจาน (Fahjan's Rules) โดยการคำนวณที่เกียวข้องกับปฏิกิริยากรดเบสมักจะเกี่ยวข้องกับหลักการของ[[สมดุลเคมี]]
 
==นิยามของอาร์รีเนียส==
บรรทัด 85:
* H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> {{eqm}} H<sub>3</sub>SO<sub>4</sub><sup>+</sup>+HSO<sub>4</sub><sup>−</sup>
 
อนึ่ง [[สมดุลเคมี|ค่าคงที่สมดุล]]ของการแตกตัวเป็นไอออนด้วยตัวเอง เรียกว่า '''ค่าคงที่การแตกตัวให้โปรตอนด้วยตัวเอง''' (Autoprotolysis Constant: ''K''<sub>AP</sub>) หรือ '''ผลคูณไอออน''' (Ionic Product) ในกรณีของน้ำค่า ''K''<sub>AP</sub> ใช้สัญลักษณ์เฉพาะเป็น ''K''<sub>W</sub> ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.0 × 10<sup>−14</sup>
ที่อุณหภูมิ 25℃:
''K''<sub>AP</sub> = ''K''<sub>W</sub> = [H<sup>+</sup>][OH<sup>−</sup>] = 1.0 × 10<sup>−14</sup>
บรรทัด 173:
 
==ดูเพิ่ม==
*[[สารประกอบโคออร์ดิเนชัน]]
 
*[[สมดุลเคมี]]
*[[กรด]]
*[[เบส]]