ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผนภูมิสวรรค์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Char (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่อ้างอิง
บรรทัด 1:
 
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''แผนภูมิสวรรค์''' ({{Zh-all|c=干支|p=gānzhī}} ''กานจือ'') คือ[[ระบบเลข]]ฐาน [[60]] แบบวนรอบที่เขียนด้วย[[อักษรจีน]] ซึ่งประกอบด้วยส่วนย่อย 2 ส่วน ได้แก่ ภาคสวรรค์ เรียกว่า "ราศีบน" มี 10 ตัวอักษร (天干; tiāngān ''เทียนกาน'') และภาคปฐพี เรียกว่า "ราศีล่าง" มี 12 ตัวอักษร (地支; dìzhī ''ตี้จือ'') แผนภูมิสวรรค์ใช้สำหรับการนับ[[วัน]]และ[[ปี]]แบบดั้งเดิม ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญใน[[โหราศาสตร์]]ของจีน นอกจากจีนแล้วประเทศใน[[เอเชียตะวันออก]]อื่นๆ เช่น [[ญี่ปุ่น]] [[เกาหลี]] [[เวียดนาม]] ก็ใช้ระบบเลขนี้ด้วย
 
บรรทัด 179:
 
ตัวอักษรของราศีบนและราศีล่างนั้น นอกจากจะใช้เพื่อระบุกาลเวลาในปฏิทินของจีนแล้ว ยังสามารถใช้ในการทำนายดวงชะตาซึ่งเป็นระบบที่แพร่หลายที่สุดในสังคมชาวจีนมาในตั้งแต่อดีตที่เรียกว่า "โป๊ยหยี่ซี้เถียว" หรือ "แปดอักขระสี่แถว" คือแถวปีก็จะประกอบด้วยราศีบนและล่าง 1 ชุด ในขณะที่แถวเดือน แถววัน และแถวยาม ก็จะมีราศีบนและล่างอีกอย่างละ 1 ชุด รวมเป็น 8 อักษร โดยแต่ละตัวจะมีค่าทางพลังงานเป็นธาตุต่างๆ ซึ่งมีอยู่ทั้งหมด 5 ธาตุ คือ ไม้ ไฟ ดิน ทอง น้ำ แล้วนำมาวิเคราะห์หาสัมพันธ์ปฏิกิริยาระหว่างธาตุ ว่าธาตุใดมีมากเกินไป ธาตุใดน้อยเกิน ธาตุใดพิฆาตธาตุใด คล้ายกับการเล่นหมากรุก เพื่อจะหาว่าธาตุใดเป็นธาตุที่ให้คุณและธาตุใดเป็นธาตุที่ให้โทษ ซึ่งในปีใดที่เป็นราศีของธาตุที่ให้คุณเข้ามาก็จะทำนายว่าเป็นปีที่ดวงดี ส่วนในปีที่ธาตุให้โทษเข้ามาก็ถือว่าเป็นปีที่ดวงไม่ดี
 
{{ต้องการ== อ้างอิง}} ==
* ตั้งกวงจือ. ตำราเรียนหัวใจฮวงจุ้ย. กรุงเทพฯ:ฮวงจุ้ยกับชีวิต, 2549
* {{Cite book
| publisher = Chinese University Press
| isbn = 978-962-201-144-1
| pages = 13–42
| editors = David Roy (ed.)
| last = Tsien
| first = Tsuen-hsuin
| coauthors = Kwang-chih Chang
| title = Ancient China : studies in early civilization
| chapter = T'ien kan: a key to the history of the Shang
| location = Hong Kong
| year = 1978
}}
* {{Cite book
| publisher = Australian National University
| pages = 85–89
| editors = Graham Thurgood (ed.)
| last = Norman
| first = Jerry
| title = Linguistics of the Sino-Tibetan area : the state of the art : papers presented to Paul K. Benedict for his 7lst birthday
| chapter = A note on the origins of the Chinese duodenary cycle
| location = Canberra
| year = 1985
}}
* {{Cite journal
| volume = 8
| pages = 29–30
| last = Pulleyblank
| first = E. G.
| title = The ''ganzhi'' as phonograms
| journal = Early China News
| year = 1995
}}
* {{Cite book| publisher = Oxbow | isbn = 978-1-84217-987-1 | pages = 1–37 | editors = John Steele (ed.)
| last = Smith | first = Adam | title = Calendars and years II : astronomy and time in the ancient and medieval world
| chapter = The Chinese sexagenary cycle and the ritual origins of the calendar | location = Oxford | year = 2011|url=http://cangjie.info/public/papers/SmithAdam_2010_sexagenary.pdf }}
 
{{เรียงลำดับ|แผนภูมิสวรรค์(ราศีบนและราศีล่าง)}}