ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supasate (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
การต่อสู้เกิดขึ้นอีกครั้งในเดือนตุลาคม เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 64 คน และบ้านเรือนหลายพันหลังถูกทำลาย
 
== ความเป็นมา ==
เหตุปะทะระหว่างสองชาติพันธุ์เกิดขึ้นอยู่เป็นช่วงๆ อยู่หลายครั้ง โดยมากเป็นการปะทะระหว่างชาวพุทธยะไข่ซึ่งเป็นคนส่วนมากกับชาวมุสลิมโรฮิงยาที่ซึ่งรัฐบาลพม่านับชาวโรฮิงยาเหล่านี้ว่าเป็นผู้อพยพ จึงไม่มีสิทธิที่จะเป็นพลเมืองของประเทศ นักประวัติศาสตร์หลายคนบอกว่าชาวโรฮิงยานี้อยู่ที่นี่มาหลายศตวรรษแล้ว ในขณะที่นักประวัติศาสตร์อีกส่วนบอกว่าชาวโรฮิงยาเพิ่งปรากฏในแถบนี้ในช่วงศตวรรษที่ 19 เท่านั้น สหประชาชาตินับกลุ่มชาติพันธุ์โรฮิงยาเหล่านี้ว่าเป็นหนึ่งในชนกลุ่มน้อยที่ถูกกดขี่มากที่สุดในโลก นอกจากนี้ รองผู้อำนวยการแผนกเอเชียของฮิวแมนไรท์วอทช์ อีเลน เพียร์สัน ยังออกมากล่าวว่า "หลังจากหลายปีแห่งการกดขี่ ข่งเหง รังแก วันหนึ่งฟองสบู่นั้นจะแตกออก และนั่นคือสิ่งที่เรากำลังเห็นในขณะนี้"<ref>{{cite news| url=http://www.reuters.com/article/2012/06/11/uk-myanmar-violence-idUSLNE85A01C20120611 | title=Muslim, Buddhist mob violence threatens new Myanmar image | agency=Reuters | date=11 Jun 2012 | accessdate=12 June 2012}}</ref>
 
ในเย็นของวันที่ [[28 พฤษภาคม]] กลุ่มมุสลิมสามคน ซึ่งมีชาวโรฮิงยาสองคนอยู่ในนั้น ได้ทำการปล้นฆ่าข่มขืนหญิงชาวยะไข่ชื่อ Ma Thida Htwe ต่อมาตำรวจได้เข้าจับกุมผู้ต้องสงสัยทั้งสามแล้วส่งไปยังเรือนจำของเมืองยานบาย<ref>{{cite web| url=http://www.unhcr.org/refworld/country,,ICG,,IDN,,4fd85cdd2,0.html | title=Myanmar Conflict Alert: Preventing communal bloodshed and building better relations | publisher= International Crisis Group (ICG) | date=12 June 2012 | accessdate=29 September 2012 }}</ref> ในวันที่ 3 มิถุนายน<ref>{{cite web|url=http://elevenmyanmar.com/national/crime/241-30-arrested-for-killing-10-aboard-toungup-bus |title=30 arrested for killing 10 aboard Toungup bus |publisher=Elevenmyanmar.com |date=2012-07-05 |accessdate=2012-10-27}}</ref> ผู้ประท้วงได้ทำการโจมตีรถบัสคันหนึ่งเนื่องจากเชื่อว่าผู้ต้องสงสัยทั้งสามนั้นอยู่ในรถบัสนั้น<ref name="BBC relocate">{{cite web | url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18392262 | title=UN decides to relocate staff from Myanmar's Rakhine state |publisher=BBC | date=11 June 2012 | accessdate=11 June 2012}}</ref> ผลจากเหตุการณ์นั้นได้ทำให้ชาวมุสลิม 10 คนเสียชีวิต<ref name="BBC 1">{{cite web | url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-18368556 | title=Burma police clash with Muslim protesters in Maung Daw |publisher=BBC | date=9 June 2012 | accessdate=9 June 2012}}</ref> ซึ่งเป็นผลให้เกิดการประท้วงจากกลุ่มมุสลิมชาวพม่าในย่างกุ้ง รัฐบาลตอบสนองโดยการตั้งรัฐมนตรีและผู้บัญชาการตำรวจอาวุโสเพื่อเป็นผู้นำในการสืบสวนเพื่อสืบหาสาเหตุและการยั่วยุที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์และดำเนินการทางกฎหมายต่อไป<ref>{{cite news | url=http://news.asiaone.com/News/AsiaOne%2BNews/Asia/Story/A1Story20120608-351252.html | title=Myanmar to probe Muslim deaths | agency=Reuters | date=8 June 2012 | accessdate=9 June 2012}}</ref> ซึ่งนับถึงวันที่ 2 กรกฎาคม มีผู้ถูกจับไปแล้ว 30 คนเนื่องจากการฆ่าชาวมุสลิมทั้งสิบนี้<ref>{{cite news | url=http://www.reuters.com/article/2012/07/02/us-myanmar-violence-idUSBRE8610CE20120702 | title=Myanmar arrests 30 over killing of 10 Muslims | agency=Reuters | date=2 July 2012 | accessdate=15 July 2012}}</ref>
 
== อ้างอิง ==