ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พีชคณิตแบบบูล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DixonDBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต แก้ไข: nl:Booleaanse algebra
แก้ไขคำผิด
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
ใน [[คณิตศาสตร์]]และ[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] '''พีชคณิตแบบบูล''', '''พีชคณิตบูลีน''' หรือ '''แลตทิซแบบบูล''' ({{lang-en|Boolean algebra}}) คือ [[โครงสร้างเชิงพีชคณิต]]ซึ่งเป็นการรวบรวมแก่นความหมายของการดำเนินการทาง[[ตรรกศาสตร์]] และ[[ทฤษฏีเซตทฤษฎีเซต]]
โดยชื่อ'''พีชคณิตแบบบูล'''นั้นตั้งตาม [[จอร์จ บูล]] ผู้พัฒนาพีชคณิตแบบนี้
 
== ประวัติ ==
[[จอร์จ บูล]] นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ที่มหาวิทยาลัย College Cork ผู้ที่นิยามพีชคณิตดังกล่าวขึ้นมาเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของระบบทางตรรกศาสตร์ในกลาง[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] พีชคณิตแบบบูลนำเทคนิคทางพีชคณิตมาใช้กับนิพจน์ใน[[ตรรกศาสตร์เชิงประพจน์]] ในปัจจุบันพีชคณิตแบบบูลได้ถูกนำไปประยุกต์อย่างแพร่หลายในการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ที่นำไปใช้คนแรกคือ[[คลาวด์ อี. แชนนอน]] นักวิทยาศาสตร์แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratory) ใน[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] โดยนำมาใช้ในการวิเคราะห์วงจรเน็ทเวิร์คเน็ตเวิร์กที่ทำงานต่อกันหลาย ๆ ภาค เช่น วงจรของโทรศัพท์ เป็นต้น เมื่อมีการพัฒนาวงจร
คอมพิวเตอร์ขึ้นก็ได้มีการนำเอาพีชคณิตบูลีนมาใช้ในการคำนวณ ออกแบบ และอธิบายสภาวะการทำงานของสถานะวงจรภายในระบบคอมพิวเตอร์ โดยพีชคณิตบูลีนเป็นพื้นฐานสำคัญในการออกแบบวงจรตรรกของระบบดิจิตอล
 
บรรทัด 86:
== การนำไปใช้ ==
 
:* เรานำพีชคณิตแบบบูลไปใช้ใน[[ตรรกศาสตร์]]ได้ โดยตีความให้ 0 หมายถึง ''เท็จ'', 1 หมายถึง ''จริง'', ∧ แทนคำว่า ''และ'', ∨ แทนคำว่า ''หรือ'', และ ¬ แทนคำว่า ''ไม่''
 
:* พีชคณิตแบบบูลที่มีสมาชิก 2 ตัวนั้น นำไปใช้ประโยชน์ในการออกแบบวงจรไฟฟ้าในงาน[[วิศวกรรมไฟฟ้า]]ได้ โดย 0 และ 1 แทนสถานะที่แตกต่างกันของ[[บิต]]ใน[[วงจรดิจิทัล]] นั่นก็คือสถานะ[[ศักย์ไฟฟ้า]]สูงและต่ำ
:*เรานำพีชคณิตแบบบูลไปใช้ใน[[ตรรกศาสตร์]]ได้ โดยตีความให้ 0 หมายถึง ''เท็จ'', 1 หมายถึง ''จริง'', ∧ แทนคำว่า ''และ'', ∨ แทนคำว่า ''หรือ'', และ ¬ แทนคำว่า ''ไม่''
 
:*พีชคณิตแบบบูลที่มีสมาชิก 2 ตัวนั้น นำไปใช้ประโยชน์ในการออกแบบวงจรไฟฟ้าในงาน[[วิศวกรรมไฟฟ้า]]ได้ โดย 0 และ 1 แทนสถานะที่แตกต่างกันของ[[บิต]]ใน[[วงจรดิจิทัล]] นั่นก็คือสถานะ[[ศักย์ไฟฟ้า]]สูงและต่ำ