ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บาศกนิยม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Toeytoey28 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Toeytoey28 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 53:
 
== อิทธิพลของลัทธิคิวบิสม์ต่อลัทธิอื่น ==
[[ลัทธิออร์ฟิสม์]] ({{lang-en|Orphism}}) หรือ ออร์ฟิสม์ คิวบิสม์ ({{lang-en|Orphism Cubism}}) หรือ อิมเพรสชันนิสม์ คิวบิสม์ ({{lang-en|Impressionnist Cubism}}) ซึ่งคำว่าออร์ฟิสม์นี้ กีโยม อพลอลลิแนร์ ({{lang-en|Guillaume Apolliaire)กวีและนักวิจารณ์ศิลปะคนสำคัญเป็นคนตั้งให้ในปี ค.ศ.1911 อธิบายว่า “เป็นงานศิลปะทางจิตรกรรมที่ให้โครงสร้างใหม่ๆ โดยปราศจากรายละเอียด ศิลปะแบบนี้ไม่ได้นำมาจากสิ่งที่มองเห็นด้วยตาธรรมดา แต่มีอยู่ในการสร้างสรรค์ของศิลปินและแสดงออกโดยศิลปินต่อความสมบูรณ์ของจริง ” ลัทธิออร์ฟิสม์ ก็คือลัทธิคิวบิสม์ในรูปลักษณะหนึ่งที่ได้พัฒนาขึ้นอีกขั้น เป็นงานที่มีหลักการอยู่บนพื้นฐานของการใช้สีอันงดงาม แสดงออกถึงการเกี่ยวพันกันระหว่างสีและรูปทรง จิตรกรที่ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้นำในลัทธินี้คือ [[โรแบรต์ เดอโลเนย์]] [[Robert Delaunay]] ผลงานส่วนมากจะเป็นเรื่องของปริมาตรกับสี เขาชอบแสดงผลของอารมณ์ต่อสีที่บริสุทธิ์สดใส ซึ่งเกิดจากการเคยฝึกฝนตามแนวคิดของลัทธิอิมเพรชชันนิสม์มาก่อน แต่พอปีค.ศ.1911 ก็ได้มีการนำความคิดของลัทธิคิวบิสม์มาปรับใช้ เขาจัดแสดงงานร่วมกลับกลุ่มจิตรกรอิสระในห้องแสดงของพวกคิวบิสม์ อพอลลิแนร์ได้กล่าวถึงผลงานของเขาระยะนั้นว่า “มีคุณค่าของสีที่ให้ความรู้สึกร่าเริงดุจอันตรีอันบริสุทธิ์” ระหว่างปี ค.ศ.1910 -1912 เดอโลเนย์ได้วาดภาพชุดนครปารีสและหอไอเฟลไว้หลายภาพ ภาพชุดนี้มีรูปแบบวิธีการสังเคราะห์เรื่องรูปทรงเช่นเดียวกับลัทธิคิวบิสม์ ผิดแผกแตกต่างตรงที่ผลงานของเดอโลเนย์เต็มไปด้วยแสงสีอันสดใส แลดูมีความเคลื่อนไหว อันได้รับอิทธิพลบางประการของพวกฟิวเจอริสม์เข้าผสมด้วย และต่อมาแนวคิดนี้ได้ผ่านเข้าไปในความคิดของคันดินสกี และกลายเป็นต้นกำเนิดอย่างหนึ่งในหลายสาเหตุของการเกิดลัทธิศิลปะนามธรรม ซึ่งกฏเกณฑ์นี้คือ การใช้แสงอาทิตย์ผสมกับรูปทรงในทรรศนะของลัทธิคิวบิสม์
 
 
== ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง ==