ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระโคตมพุทธเจ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 82:
 
==== เหตุการณ์ออกผนวชตามนัยพระบาลี (พระไตรปิฎก) ====
 
[[ไฟล์:The Great Going Forth.jpg|thumb|250px|left| (ตามนัยอรรถกถา) หลังจากเจ้าชายสิทธัตถะหนีออกจากพระราชวัง ทรงตัดพระเมาฬีที่ริมฝั่งแม่น้ำอโนมานทีเพื่ออธิษฐานเพศเป็นบรรพชิต]]
 
เหตุการณ์การออกผนวชจากหลักฐานชั้นต้น คือ [[พระไตรปิฎก]] กล่าวว่า เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะอายุได้ 29 พรรษา<ref>สยามรฏฺฐเตปิฏกํ ปาลี. ''มหาปรินิพฺพานสุตฺต'' มหา. ที. 10/176/139</ref> ได้ทรงปรารภเหตุคือ ความแก่ เจ็บ ตาย ที่มีอยู่ทุกคนเป็นธรรมโลก ไม่มีใครจะรอดพ้นไปได้ แต่เพราะว่ามิได้ฟังคำสั่งสอนของผู้รู้ จึงทำให้มัวแต่มานั่งรังเกียจเหตุเหล่านั้นว่าเป็นของไม่ควรคิด ไม่ควรสนใจ ทำให้คนเราทั้งหลาย มัวมาแต่ลุ่มหลงอยู่ในกิเลสทั้งหลายเพราะความเมา 3 ประการ คือ เมาว่าตัวยังหนุ่มยังสาวอยู่อีกนานกว่าจะแก่ 1 เมาว่าไม่มีโรคอยู่และโรคคงจะไม่เกิดแก่เรา 1 เมาว่าชีวิตเป็นของยั่งยืน 1<ref>สยามรฏฺฐเตปิฏกํ ปาลี. ''ปาสราสิสุตฺต โอปทฺทมวคฺค'' มู. ม. 12/316/316</ref> มัวแต่ใช้ชีวิตทิ้งไปวัน ๆ กล่าวคือ ทรงดำริว่า
 
{{คำพูด|<center>...มนุษย์ทั้งหลายมีความทุกข์เกิดขึ้นครอบงำอยู่ตลอดเวลาก็จริง เกลียดความทุกข์อยู่ตลอดเวลาก็จริง<br />แต่ทำไมมนุษย์ทั้งหลายยังมัวแสวงหาทุกข์ร้อนใส่ตัวอยู่ตลอดเวลา แล้วทำไม เราต้องมามัวนั่งแสวงหาทุกข์ใส่ตัว (ให้โง่) อยู่อีกเล่า!</center>|''สยามรฏฺฐเตปิฏกํ ปาลี''. ปาสราสิสุตฺต โอปทฺทมวคฺค'' อุปริ. ม. มู. ม. 12/316/316''}}
 
ด้วยความคิดเช่นนี้ ทำให้เจ้าชายสิทธัตถะถึงกับตั้งพระทัยออกผนวชด้วยดำริว่า
 
{{คำพูด|เมื่อรู้ว่าการเกิดมี (ทุกข์) เป็นโทษแล้ว เราพึงแสวงหา "[[นิพพาน]]" อันไม่มีความเกิด อันเป็นธรรมที่เกษมจากเครื่องร้อยรัด ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าเถิด|''สยามรฏฺฐเตปิฏกํ ปาลี''. ปาสราสิสุตฺต โอปทฺทมวคฺค'' มู. ม. 12/316/316''}}
 
นอกจากนี้ ในสคารวสูตร มีพระพุทธพจน์ตรัสสรุปสาเหตุที่ทำให้ทรงตั้งพระทัยออกบรรพชาไว้สั้น ๆ ว่า
 
{{คำพูด|ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี, ส่วนบรรพชาเป็นโอกาสแสงสว่าง; ผู้อยู่ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์โดยส่วนเดียว เหมือนสังข์ที่เขาขัดดีแล้ว, โดยง่าย นั้นไม่ได้. ถ้าไฉนเราพึงปลงผมและหนวด ครองผ้าย้อมน้ำฝาดออกจากเรือน บวชเป็นผู้ไม่มีประโยชน์เกี่ยวข้องด้วยเรือน เถิด|''สยามรฏฺฐเตปิฏกํ ปาลี''. สคารวสุตฺต พฺราหฺมณวคฺค'' ม. มู.13/669/738''}}
 
ด้วยเหตุดังกล่าวทั้งหลายนี้พระองค์จึงทรงตั้งพระทัยเสด็จออกผนวช ซึ่งนักวิชาการพุทธศาสนาบางท่านอ้างว่าการเสด็จออกผนวชตามนัยพระไตรปิฎกนั้น มิได้ทรงหนีออกจากพระราชวัง แต่เสด็จออกผนวชเฉพาะพระพักตร์พระราชบิดาและพระราชมารดาเลยทีเดียว โดยอ้างจากโพธิราชกุมารสูตร ราชวรรค ว่า
 
{{คำพูด|...เรายังหนุ่มเทียว เกสายังดำจัด บริบูรณ์ด้วยเยาว์อันเจริญในปฐมวัย, เมื่อบิดามารดาไม่ปรารถนาด้วย กำลังพากันร้องไห้ น้ำตานองหน้าอยู่ เราได้ปลงผมและหนวด ครองผ้าย้อมฝาด ออกจากเรือน บวชเป็นผู้ไม่มีเรือนแล้ว...|''สยามรฏฺฐเตปิฏกํ ปาลี''. โพธิราชกุมารสุตฺต ราชวคฺค'' ม. มู. 13/443/489''}}
 
{{Buddha Infobox
| name = พระศากยมุนีพุทธเจ้า
| img = Back06釋迦牟尼佛Shakyamuni-Thangka.jpg
| img_size =
| landscape =
เส้น 106 ⟶ 125:
| หมายเหตุ =
}}
[[ไฟล์:The Great Going Forth.jpg|thumb|250px|left| (ตามนัยอรรถกถา) หลังจากเจ้าชายสิทธัตถะหนีออกจากพระราชวัง ทรงตัดพระเมาฬีที่ริมฝั่งแม่น้ำอโนมานทีเพื่ออธิษฐานเพศเป็นบรรพชิต]]
 
เหตุการณ์การออกผนวชจากหลักฐานชั้นต้น คือ [[พระไตรปิฎก]] กล่าวว่า เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะอายุได้ 29 พรรษา<ref>สยามรฏฺฐเตปิฏกํ ปาลี. ''มหาปรินิพฺพานสุตฺต'' มหา. ที. 10/176/139</ref> ได้ทรงปรารภเหตุคือ ความแก่ เจ็บ ตาย ที่มีอยู่ทุกคนเป็นธรรมโลก ไม่มีใครจะรอดพ้นไปได้ แต่เพราะว่ามิได้ฟังคำสั่งสอนของผู้รู้ จึงทำให้มัวแต่มานั่งรังเกียจเหตุเหล่านั้นว่าเป็นของไม่ควรคิด ไม่ควรสนใจ ทำให้คนเราทั้งหลาย มัวมาแต่ลุ่มหลงอยู่ในกิเลสทั้งหลายเพราะความเมา 3 ประการ คือ เมาว่าตัวยังหนุ่มยังสาวอยู่อีกนานกว่าจะแก่ 1 เมาว่าไม่มีโรคอยู่และโรคคงจะไม่เกิดแก่เรา 1 เมาว่าชีวิตเป็นของยั่งยืน 1<ref>สยามรฏฺฐเตปิฏกํ ปาลี. ''ปาสราสิสุตฺต โอปทฺทมวคฺค'' มู. ม. 12/316/316</ref> มัวแต่ใช้ชีวิตทิ้งไปวัน ๆ กล่าวคือ ทรงดำริว่า
 
{{คำพูด|<center>...มนุษย์ทั้งหลายมีความทุกข์เกิดขึ้นครอบงำอยู่ตลอดเวลาก็จริง เกลียดความทุกข์อยู่ตลอดเวลาก็จริง<br />แต่ทำไมมนุษย์ทั้งหลายยังมัวแสวงหาทุกข์ร้อนใส่ตัวอยู่ตลอดเวลา แล้วทำไม เราต้องมามัวนั่งแสวงหาทุกข์ใส่ตัว (ให้โง่) อยู่อีกเล่า!</center>|''สยามรฏฺฐเตปิฏกํ ปาลี''. ปาสราสิสุตฺต โอปทฺทมวคฺค'' อุปริ. ม. มู. ม. 12/316/316''}}
 
ด้วยความคิดเช่นนี้ ทำให้เจ้าชายสิทธัตถะถึงกับตั้งพระทัยออกผนวชด้วยดำริว่า
 
{{คำพูด|เมื่อรู้ว่าการเกิดมี (ทุกข์) เป็นโทษแล้ว เราพึงแสวงหา "[[นิพพาน]]" อันไม่มีความเกิด อันเป็นธรรมที่เกษมจากเครื่องร้อยรัด ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าเถิด|''สยามรฏฺฐเตปิฏกํ ปาลี''. ปาสราสิสุตฺต โอปทฺทมวคฺค'' มู. ม. 12/316/316''}}
 
นอกจากนี้ ในสคารวสูตร มีพระพุทธพจน์ตรัสสรุปสาเหตุที่ทำให้ทรงตั้งพระทัยออกบรรพชาไว้สั้น ๆ ว่า
 
{{คำพูด|ฆราวาสคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี, ส่วนบรรพชาเป็นโอกาสแสงสว่าง; ผู้อยู่ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์โดยส่วนเดียว เหมือนสังข์ที่เขาขัดดีแล้ว, โดยง่าย นั้นไม่ได้. ถ้าไฉนเราพึงปลงผมและหนวด ครองผ้าย้อมน้ำฝาดออกจากเรือน บวชเป็นผู้ไม่มีประโยชน์เกี่ยวข้องด้วยเรือน เถิด|''สยามรฏฺฐเตปิฏกํ ปาลี''. สคารวสุตฺต พฺราหฺมณวคฺค'' ม. มู.13/669/738''}}
 
ด้วยเหตุดังกล่าวทั้งหลายนี้พระองค์จึงทรงตั้งพระทัยเสด็จออกผนวช ซึ่งนักวิชาการพุทธศาสนาบางท่านอ้างว่าการเสด็จออกผนวชตามนัยพระไตรปิฎกนั้น มิได้ทรงหนีออกจากพระราชวัง แต่เสด็จออกผนวชเฉพาะพระพักตร์พระราชบิดาและพระราชมารดาเลยทีเดียว โดยอ้างจากโพธิราชกุมารสูตร ราชวรรค ว่า
 
{{คำพูด|...เรายังหนุ่มเทียว เกสายังดำจัด บริบูรณ์ด้วยเยาว์อันเจริญในปฐมวัย, เมื่อบิดามารดาไม่ปรารถนาด้วย กำลังพากันร้องไห้ น้ำตานองหน้าอยู่ เราได้ปลงผมและหนวด ครองผ้าย้อมฝาด ออกจากเรือน บวชเป็นผู้ไม่มีเรือนแล้ว...|''สยามรฏฺฐเตปิฏกํ ปาลี''. โพธิราชกุมารสุตฺต ราชวคฺค'' ม. มู. 13/443/489''}}
 
อย่างไรก็ตาม จะเห็นว่าตามพุทธวจนะไม่ได้กล่าวว่าทรงผนวชเฉพาะพระพักตร์พระราชบิดาและพระราชมารดา เพียงแต่ตรัสว่าทรงผนวชขณะทั้งสองพระองค์กรรแสง ซึ่งอาจเป็นเพราะทรงหนีจากพระราชวังแล้วผนวชในตอนเช้า (สอดคล้องกับอรรถกถา) เมื่อทั้งสองพระองค์ทรงทราบในเช้านั้นจึงเสียพระทัย การผนวชของเจ้าชายสิทธัตถะและการกรรแสงของพระราชบุพการีจึงเป็นเวลาเดียวกัน แต่ต่างสถานที่