ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภูเขาไฟเมานาโลอา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wizard (คุย | ส่วนร่วม)
Wizard (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 37:
ยอดเขาเมานาโลอามีความสูงวัดจากระดับน้ำทะเล 13,680 ฟุต หรือ 4,170 เมตร เป็นอันดับสองของเกาะฮาวาย รองจาก[[ภูเขาไฟเมานาเคอา|ยอดเขาเมานาเคอา]] ซึ่งสูงกว่าประมาณ 120 ฟุต (37 เมตร) แต่เมื่อวัดความสูงจากฐานส่วนที่จมอยู่ใต้ทะเลอีกประมาณ 5 กิโลเมตร จะเป็นภูเขาไฟที่ยังไม่ดับที่สูงที่สุดในโลกคือจะสูงกว่า 9 กิโลมตร และสูงกว่า[[ยอดเขาเอเวอเรสต์]]
 
== ภูมิอากาศ ==
 
เมานาโลอามี[[ภูมิอากาศแบบเขตร้อน]] ตลอดทั้งปีที่ระดับความสูงน้อยจะมีอากาศอบอุ่น แต่ที่ระดับความสูงมากขึ้นจะมีอากาศเย็นจนถึงหนาว ตารางด้านล่างแสดงอุณหภูมิที่วัดที่ศูนย์หอสังเกตการณ์ที่ลาดเขา ที่อยู่ที่ระดับความสูง 3,000 เมตรใน[[เขตแอลป์]] อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึกได้คือ 85 °F (29 °C) เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 และต่ำสุดคือ 18 °F (−8 °C) เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505<ref>{{cite web|work=MAUNA LOA SLOPE OBS, HAWAII|title=Period of Record General Climate Summary - Temperature|url=http://www.wrcc.dri.edu/cgi-bin/cliGCStT.pl?hi6198|publisher=NOAA|accessdate=2012-06-05}}</ref>
 
{{Weather box
|location = ศูนย์หอสังเกตการณ์ลาดเขาเมานาโลอา (2504-2533)
|single line = Y
|temperature colour=pastel
บรรทัด 134:
|Dec snow inch = 1.0
|source 1 = NOAA<ref>{{cite web|work=MAUNA LOA SLOPE OBS, HAWAII|title=Period of Record Monthly Climate Summary|url=http://www.wrcc.dri.edu/cgi-bin/cliMAIN.pl?himaun|publisher=NOAA|accessdate=2012-06-05}}</ref>}}
 
==หอสังเกตการณ์==
 
เมานาโลอาเป็นสถานที่สำคัญสำหรับการเฝ้าสังเกตชั้นบรรยากาศโดย[[โครงการเฝ้าติดตามบรรยากาศโลก]]และหน่วยงานทางวิทยาศาสตร์อื่นๆ [[หอสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์แห่งเมานาโลอา]] (MLSO) ตั้งอยู่ที่ระดับความสูง 3,400 เมตรบนลาดเขาทางทิศเหนือ มีบทบาทสำคัญในการสังเกตการณ์[[ดวงอาทิตย์]] ขณะที่[[หอสังเกตการณ์เมานาโลอา]] โดย[[องค์กรการบริหารสมุทรศาสตร์และบรรยากาศแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา]] (NOAA) ซึ่งตั้งอยู่ใกล้กัน และอยู่ห่างไกลจากกิจกรรมของมนุษย์ในท้องถิ่น ทำหน้าที่เฝ้าสังเกตชั้นบรรยากาศของโลก รวมถึงแก๊ส[[คาร์บอนไดออกไซด์]] โดยการตรวจวัดถูกปรับเปลี่ยนเพื่ออธิบายการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากภูเขาไฟ<ref>Rhodes, J.M. and Lockwood, J. P. (editors), (1995) ''Mauna Loa Revealed: Structure, Composition, History, and Hazards'', Washington D.C., American Geophysical Union Monograph 92, page 95</ref> และยังมีหน่วยงานอื่นๆ เช่น [[Array for Microwave Background Anisotropy]] (AMIBA) ที่เริ่มสำรวจหาต้นกำเนิดจักรวาลมาตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 หรือ[[หอสังเกตการณ์ภูเขาไฟแห่งฮาวาย]]ที่ตรวจวัดแผ่นดินไหวและถ่ายภาพกิจกรรมบนปล่อง Mokuʻāweoweo<ref>{{cite web| url=http://hvo.wr.usgs.gov/cam2 |title=Live panorama of Mokuaweoweo |accessdate=2009-07-04 |publisher=[[United States Geological Survey]], Hawaii Volcanoes Observatory web site }}</ref>
 
== อ้างอิง ==