ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลอมงด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ku:Le Monde
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 37:
 
== การโต้เถียงและการเมือง ==
มิเชล เลกริส ผู้เขียนหนังสือ ''เลอมงด์แตลกิลเลต์'' ({{lang-fr|Le monde tel qu'il est}}) ผู้ซึ่งอดีตเป็นนักข่าวให้กับเลอมงด์ ภายในได้เขียนเนื้อหาซึ่งลดความโหดร้ายป่าเถื่อนของ[[เขมรแดง]]ใน[[กัมพูชา]] และในหนังสือ ''ลาฟาซกาเชดูมงด์'' ({{lang-fr|La face cachée du Monde}}, ''"ใบหน้าอันซ่อนเร้นของเลอมงด์"'') เขียนโดย ปิแอร์ ปอง และ ฟิลิปป์ โคเฮน ที่ออกมาเปิดโปง โคลอมบานิ และเอ็ดวี เพลเนล บรรณาธิการของเลอมงด์ เกี่ยวกับเรื่องที่กลุ่มการเมืองได้ทำข้อตกลงอย่างลับ ๆ กับทางเลอมงด์เพื่อจะลดทอนการนำเสนอข่าวอย่างอิสระของหนังสือพิมพ์ ทั้งนี้เลอมงด์ ยังถูกกล่าวหาว่าสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงให้กับหน่วยงานและองกรณ์ภาครัฐของฝรั่งเศสจากการที่เปิดโปงเรื่องอื้อฉาวทางการเมืองมากมาย (ส่วนมากมีชื่อเสียงจากการเปิดโปงเรื่องอื้อฉาวต่าง ๆ นานาของประธานาธิบดี[[ฌาคส์ฌัก ชีรัครัก]] โดยเฉพาะ การที่หน่วยราชการลับฝรั่งเศสในช่วงของประธานาธิบดี[[ฟรองซัวส์ฟร็องซัว มิตแตร์รองด์มีแตร็อง]] [[การจมเรนโบว์วอร์ริเออร์|จมเรือ]][[เรนโบว์วอริเออร์]]) นอกจากนี้ทางผู้เขียนยังได้กล่าวถึงโคลอมบานิ และเอ็ดวี เพลเนล ว่าเป็น "พวกนิยมชาวต่างชาติ" และ "พวกเกลียดชังฝรั่งเศส" หนังสือเล่มดังกล่าวได้ทำให้เกิดการโต้เถียงกันเป็นวงกว้าง แต่ก่อให้เกิดความสนใจเกี่ยวกับการรายงานข่าวของสื่อสารมวลชนทั้งในฝรั่งเศสและทั่วโลกในช่วงที่หนังสือถูกตีพิมพ์ ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2547]] เลอมงด์ชนะคดีในการฟ้องร้องต่อผู้เขียน โดยศาลตัดสินให้ผู้เขียนยินยอมที่จะไม่ตีพิมพ์หนังสือเล่มดังกล่าวอีก นอกจากนี้เลอมงด์ยังถูกตัดสินว่ามีความผิดในการนำเสนอข่าวว่านักฟุตบอลภายในสโมสรบาเซโลนาเอฟซีมีการใช้สารสเตียร์รอยด์ ทางเลอมงด์จึงต้องจ่ายค่าเสียหายเป็นเงิน 450,000 ดอลลาร์สหรัฐและต้องตีพิมพ์เผยแพร่คำตัดสินของศาลทั้งในหนังสือพิมพ์และบนอินเทอร์เน็ต
 
== อ้างอิง ==