ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนวันที่ตามปก
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ความหมายอื่น|หนังสือพิมพ์||ประชาทรรศน์ (แก้ความกำกวม)}}
 
{{กล่องข้อมูล หนังสือพิมพ์
| ชื่อ = ประชาทรรศน์รายวัน
บรรทัด 23:
| circulation =
| ISSN =
| เว็บไซต์ = [http://www.prachatouch.co.th www.prachatouch.co.th]
}}
 
'''ประชาทรรศน์''' เป็น[[หนังสือพิมพ์]]รายวัน (วางจำหน่ายทุก[[วันจันทร์]]-[[วันศุกร์]] จำนวน 16 หน้า ราคาฉบับละ 7 บาท) นำเสนอข่าวทั่วไป มีคำขวัญว่า “หนังสือพิมพ์รายวันทางเลือกเพื่อประชาชน” ออกฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ [[11 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2550]] หลังจากที่พิมพ์เป็นฉบับทดลองมาแล้ว 10 ฉบับ ตั้งแต่วันที่ [[1 ตุลาคม]] มี[[พิธาน คลี่ขจาย|นายพิธาน คลี่ขจาย]] น้องชาย [[สุภาพ คลี่ขจาย|นายสุภาพ คลี่ขจาย]] เป็น[[บรรณาธิการ]]บริหาร [[จรัล ดิษฐาอภิชัย|ผศ.จรัล ดิษฐาอภิชัย]] ประธาน[[คณะกรรมการประชาชนเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550]] (คปพร.) อดีต[[กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ]] และอดีตประธาน[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] (นปช.) เป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ และ[[อเนก เรืองเชื้อเหมือน|นายอเนก เรืองเชื้อเหมือน]] เป็นบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา
{{ความหมายอื่น|หนังสือพิมพ์||ประชาทรรศน์ (แก้ความกำกวม)}}
 
หนังสือพิมพ์ประชาทรรศน์ มีเนื้อหาส่วนมากเกี่ยวกับการแสดง[[ทัศนคติ]]ทาง[[การเมือง]]ที่แตกต่างจากสื่อกระแสหลัก โดยมีจุดยืนในการส่งเสริมระบบ[[รัฐสภา]]ในระบอบ[[ประชาธิปไตย]][[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ|อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] ต่อต้านการ[[รัฐประหาร]] และการชุมนุมทางการเมือง ที่ปฏิเสธคณะบุคคล ที่เข้าดำรงตำแหน่งทางการเมือง อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งหมายถึง[[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ]] และ[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]
'''ประชาทรรศน์''' เป็น[[หนังสือพิมพ์]]รายวัน (วางจำหน่ายทุก[[วันจันทร์]]-[[วันศุกร์]] จำนวน 16 หน้า ราคาฉบับละ 7 บาท) นำเสนอข่าวทั่วไป มีคำขวัญว่า “หนังสือพิมพ์รายวันทางเลือกเพื่อประชาชน” ออกฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ [[11 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2550]] หลังจากที่พิมพ์เป็นฉบับทดลองมาแล้ว 10 ฉบับ ตั้งแต่วันที่ [[1 ตุลาคม]] มี[[พิธาน คลี่ขจาย|นายพิธาน คลี่ขจาย]] น้องชาย [[สุภาพ คลี่ขจาย|นายสุภาพ คลี่ขจาย]] เป็น[[บรรณาธิการ]]บริหาร [[จรัล ดิษฐาอภิชัย|ผศ.จรัล ดิษฐาอภิชัย]] ประธาน[[คณะกรรมการประชาชนเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550]] (คปพร.) อดีต[[กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ]] และอดีตประธาน[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] (นปช.) เป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ และ[[อเนก เรืองเชื้อเหมือน|นายอเนก เรืองเชื้อเหมือน]] เป็นบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา
 
ต่อมา การนำเสนอข่าวในระยะหลัง เป็นไปในทำนองให้การสนับสนุน นาย[[เนวิน ชิดชอบ]] และ[[พรรคภูมิใจไทย]] เนื่องจากนายเนวินเป็นนายทุนให้กับหนังสือพิมพ์ฉบับนี้นั่นเอง และสีหัวข่าวใหญ่ปรับเปลี่ยนจากสีแดงเป็นสีน้ำเงินแทนรวมไปถึงได้โจมตีกลุ่ม [[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน]]
หนังสือพิมพ์ประชาทรรศน์ มีเนื้อหาส่วนมากเกี่ยวกับการแสดง[[ทัศนคติ]]ทาง[[การเมือง]]ที่แตกต่างจากสื่อกระแสหลัก โดยมีจุดยืนในการส่งเสริมระบบ[[รัฐสภา]]ในระบอบ[[ประชาธิปไตย]][[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ|อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] ต่อต้านการ[[รัฐประหาร]] และการชุมนุมทางการเมือง ที่ปฏิเสธคณะบุคคล ที่เข้าดำรงตำแหน่งทางการเมือง อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งหมายถึง[[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ]] และ[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]
 
หนังสือพิมพ์ประชาทรรศน์ตีพิมพ์วางจำหน่าย 581 ฉบับ กระทั่งวันที่ [[15 มกราคม]] [[พ.ศ. 2553]] ได้ตีพิมพ์เป็นฉบับสุดท้าย ก่อนที่บริษัท สำนักข่าวประชาทรรศน์ จำกัด ตัดสินใจหยุดผลิต หยุดจำหน่าย และให้พนักงานลาออกจำนวนมาก ปัจจุบันเหลือเพียงแค่เว็บไซต์ประชาทรรศน์ออนไลน์ที่นำเสนอข่าว ส่วนกองบรรณาธิการบางส่วนหันไปผลิตรายการวิทยุ โดยใช้ชื่อว่าสถานีวิทยุชุมชนปกป้องสถาบัน นำโดย นายอุดมศักดิ์ สาวนะ บรรณาธิการอำนวยการหนังสือพิมพ์ประชาทรรศน์
ต่อมา การนำเสนอข่าวในระยะหลัง เป็นไปในทำนองให้การสนับสนุน นาย[[เนวิน ชิดชอบ]] และ[[พรรคภูมิใจไทย]] เนื่องจากนายเนวินเป็นนายทุนให้กับหนังสือพิมพ์ฉบับนี้นั่นเอง และสีหัวข่าวใหญ่ปรับเปลี่ยนจากสีแดงเป็นสีน้ำเงินแทนรวมไปถึงได้โจมตีกลุ่ม [[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน]]
 
หนังสือพิมพ์ประชาทรรศน์ตีพิมพ์วางจำหน่าย 581 ฉบับ กระทั่งวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2553 ได้ตีพิมพ์เป็นฉบับสุดท้าย ก่อนที่บริษัท สำนักข่าวประชาทรรศน์ จำกัด ตัดสินใจหยุดผลิต หยุดจำหน่าย และให้พนักงานลาออกจำนวนมาก ปัจจุบันเหลือเพียงแค่เว็บไซต์ประชาทรรศน์ออนไลน์ที่นำเสนอข่าว ส่วนกองบรรณาธิการบางส่วนหันไปผลิตรายการวิทยุ โดยใช้ชื่อว่าสถานีวิทยุชุมชนปกป้องสถาบัน นำโดย นายอุดมศักดิ์ สาวนะ บรรณาธิการอำนวยการหนังสือพิมพ์ประชาทรรศน์
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.prachatouch.co.th ประชาทรรศน์ออนไลน์เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ]
* [http://www.tja.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=1433:-2553&catid=24:media-center-surveillance-threats&Itemid=24 สถานการณ์สื่อในช่วงเดือนมกราคม 2553] โดย ศูนย์เฝ้าระวังการคุมคามสื่อ ฝ่ายสิทธิเสรีภาพและปฏิรูปสื่อ สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
 
{{หนังสือพิมพ์ไทย}}
 
[[หมวดหมู่:หนังสือพิมพ์ในประเทศไทย]]
{{โครงหนังสือพิมพ์}}