ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเร็วเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
RedBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: et:Heli kiirus
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
 
'''ความอัตราเร็วเสียง''' คือ [[ระยะทาง]]ที่[[เสียง]]เดินทางไปในตัวกลางใดๆ ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา โดยทั่วไปเสียงเดินทางในอากาศที่มีอุณหภูมิ 25°C (= 298,15 K) ได้ประมาณ 346 เมตร/วินาที และในอากาศที่อุณหภูมิ 20°C ได้ประมาณ 343 เมตร/วินาที ความอัตราเร็วที่เสียงเดินทางได้นั้นอาจมีค่ามากขึ้นหรือน้อยลงขึ้นอยู่กับ[[อุณหภูมิ]]ของตัวกลางเป็นหลัก และอาจได้รับอิทธิพลจาก[[ความชื้น]]บ้างเล็กน้อย แต่ไม่ขึ้นกับ[[ความดันอากาศ]]
 
เนื่องจากการเดินทางของเสียงอาศัยการสั่นของโมเลกุลของตัวกลาง ดังนั้นเสียงจะเดินทางได้เร็วขึ้นหากตัวกลางมี[[ความหนาแน่น]]มาก ทำให้เสียงเดินทางได้เร็วในของแข็ง แต่เดินทางไม่ได้ในอวกาศ เพราะอวกาศเป็น[[สุญญากาศ]]จึงไม่มีโมเลกุลของตัวกลางอยู่
 
== การคำนวณความอัตราเร็วเสียง ==
ความอัตราเร็วเสียง ''c'' โดยทั่วไปคำนวณหาได้จาก
 
:<math>
บรรทัด 15:
:<math>\rho</math> คือ [[ความหนาแน่น]]
 
ดังนั้น ความอัตราเร็วเสียง จะเพิ่มขึ้นตามความแข็งเกร็งของวัสดุ และ ลดลงเมื่อความหนาแน่นเพิ่มขึ้น
 
=== ความอัตราเร็วเสียงในของแข็ง ===
ของแข็งนั้นมีค่าความแข็งเกร็งไม่เป็นศูนย์ ทั้งต่อแรงบีบอัด หรือ การเปลี่ยนปริมาตร (volumetric deformation) และ แรงเฉือน (shear deformation) ดังนั้นจึงเป็นไปได้ที่จะกำเนิดคลื่นเสียงที่มีความเร็วต่างกัน ขึ้นกับรูปแบบของคลื่น
 
ในแท่งของแข็ง ซึ่งมีขนาดความหนา (หรือขนาดของตัวกลาง ในแนวตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น) เล็กกว่าความยาวคลื่นมาก ความอัตราเร็วเสียงหาได้จาก
:<math>
c_{\mathrm{solid (thin), longitudinal}}= \sqrt{\frac{E}{\rho}}
บรรทัด 28:
:<math>\rho</math> (rho) คือ [[ความหนาแน่น]]
 
ดังนั้น ใน[[เหล็ก]] ความอัตราเร็วของเสียงจะมีค่าประมาณ 5100 m/s
 
ในแท่งของแข็งหนา หรือ ขนาดด้านข้างของตัวกลาง ใหญ่กว่าความยาวคลื่น เสียงจะเดินทางได้เร็วกว่า ความอัตราเร็วของเสียงสามารถหาได้จากการแทนค่ามอดุลัสของยัง ด้วย [[มอดุลัสคลื่นหน้าราบ]] ([[:en:plane wave modulus]]) ซึ่งหาได้จาก มอดุลัสของยัง และ [[อัตราส่วนของปัวซง]] ([[:en:Poisson's ratio]]) <math>\nu</math>
:<math>
M = E \frac{1-\nu}{1-\nu-2\nu^2}
</math>
 
ดังนั้น ความอัตราเร็วของเสียง
:<math>
c_{\mathrm{solid (thick), longitudinal}} = \sqrt{E \, ( 1- \nu) \over \rho \, ( 1- \nu - 2 \nu^2) }
บรรทัด 46:
</math>.
 
จะเห็นได้ว่า ความอัตราเร็วของเสียงในของแข็งขึ้นกับความหนาแน่น ของตัวกลางเท่านั้น โดยไม่ขึ้นกับอุณหภูมิ ของแข็งเช่น เหล็ก สามารถนำคลื่นด้วยความเร็วที่สูงกว่าอากาศมาก
 
=== ความอัตราเร็วเสียงในของเหลว ===
 
ของเหลวจะมีความแข็งเกร็งต่อแรงอัดเท่านั้น โดยไม่มีความแข็งเกร็งต่อแรงเฉือน ดังนั้นความอัตราเร็วของเสียงในของเหลวหาได้โดย
:<math>
c_{\mathrm{fluid}} = \sqrt {\frac{K}{\rho}}
บรรทัด 57:
:''K'' คือ [[มอดุลัสของการอัด]]แอเดียแบติก (adiabatic [[:en:bulk modulus]])
 
=== ความอัตราเร็วเสียงในก๊าซ ===
ในก๊าซ ค่า ''K'' สามารถประมาณโดย
:<math>
บรรทัด 67:
:''p'' คือ [[ความดัน]]
 
ดังนั้น ความอัตราเร็วเสียงในก๊าซสามารถคำนวณได้โดย
:<math>
c_{\mathrm{gas}} = \sqrt {{\kappa \cdot p}\over\rho}
บรรทัด 82:
* ''T'' คือ ค่าอุณหภูมิสัมบูรณ์ ([[เคลวิน]])
 
([[ไอแซก นิวตัน|นัวตัน]] นั้นค้นพบวิธีการหาค่าความอัตราเร็วเสียงก่อนพัฒนาการของ [[อุณหพลศาสตร์]] และได้ใช้การคำนวณแบบ[[อุณหภูมิเสมอ]] ([[:en:isothermal]]) แทนที่จะเป็นแบบ[[แอเดียแบติก]] ([[:en:adiabatic]]) ซึ่งทำสูตรของนิตันนั้นขาดตัวคูณ &kappa;)
 
 
บรรทัด 91:
''T''<sub>25</sub> = 298.15 K (= 25&#160;°C = 77&#160;°F) ความเร็วเสียง 346.3 m/s (= 1136.2 ft/s = 1246 km/h = 774.7 mph = 672.7 นอต
 
ในกรณีของ[[ก๊าซในอุดมคติ]] ความอัตราเร็วเสียง ''c'' ขึ้นกับอุณหภูมิเท่านั้น โดย'''ไม่ขึ้นกับความดัน''' อากาศนั้นเกือบจะถือได้ว่าเป็นก๊าซในอุดมคติ อุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลงตามระดับความสูง เป็นผลให้ความอัตราเร็วของเสียงที่ระดับความสูงต่างๆ นั้นแตกต่างกัน
 
{| class="wikitable"
บรรทัด 104:
|}
 
ใน '''ตัวกลางที่ไม่มีการกระจาย''' (non-dispersive medium) &#8211; ความอัตราเร็วเสียงไม่ขึ้นกับความถี่ ดังนั้นความอัตราเร็วในการส่งถ่ายพลังงาน และ ความอัตราเร็วเร็วในการเคลื่อนที่ของเสียง นั้นมีค่าเท่ากัน ในย่านความถี่เสียงที่เราสามารถได้ยินนั้น อากาศมีคุณสมบัติเป็นตัวกลางที่ไม่มีการกระจาย โปรดสังเกตว่า CO<sub>2</sub> ในอากาศนั้นเป็นตัวกลางที่มีการกระจาย และทำให้เกิดการกระจายสำหรับคลื่นเสียงความถี่สูง (28KHz) <br>
ใน '''ตัวกลางที่มีการกระจาย''' (dispersive medium) &#8211; ความอัตราเร็วเสียงจะขึ้นกับความถี่ องค์ประกอบที่แต่ละความถี่จะเดินทางด้วยความเร็วเฟส (phase velocity) ที่แตกต่างกัน ส่วนพลังงานของเสียงจะเดินทางด้วยความเร็วที่ความเร็วกลุ่ม (group velocity) ตัวอย่างของตัวกลางที่มีการกระจาย คือ น้ำ
 
=== ความอัตราเร็วเสียงในอากาศ ===
 
ความอัตราเร็วของเสียงในอากาศโดยประมาณหาได้จาก:
:<math>
c_{\mathrm{air}} \approx (331+ (0{.}6 \cdot \theta)) \quad \mathrm{m/s}\,
</math>
 
โดยที่ <math>\theta\, </math> คือ อุณหภูมิ ในหน่วย องศา[[เซลเซียส]] ความแม่นยำในการประมาณในช่วงของอุณหภูมิในช่วง -20°C ถึง 40°C จะมีค่าความผิดพลาดไม่เกิน 0.2% ในช่วงอุณหภูมิสูงกว่า หรือ ต่ำกว่านั้นความอัตราเร็วของเสียงจะประมาณโดย
:<math>
c_{\mathrm{air}} \approx 331 \sqrt{1 + {\theta \over 273} } \quad \mathrm{m/s}\,
บรรทัด 143:
|}
 
'''[[เลขมัค]]''' คือ อัตราส่วนความอัตราเร็วของวัตถุ ต่อ '''ความอัตราเร็วเสียง''' ในอากาศ (หรือตัวกลางนั้น)
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุใดๆด้วยความอัตราเร็วเท่ากับเสียง ณ ตำแหน่งนั้น จะเรียกว่าความอัตราเร็ว 1 [[มัค]] (Mach) ในทำนองเดียวกันถ้าเคลื่อนที่ด้วยความอัตราเร็ว 2 เท่าของความอัตราเร็วเสียงวัตถุนั้นก็จะมีความเร็วเป็น 2 มัค
 
== ตัวอย่างความอัตราเร็วเสียงในตัวกลางต่าง ๆ ==
 
ตารางด้านล่าง แสดงค่าความอัตราเร็วเสียงในตัวกลาง ที่อุณหภูมิ 20°C
 
{| class = "wikitable"
บรรทัด 179:
[[หมวดหมู่:พลศาสตร์ของไหล]]
[[หมวดหมู่:สวนศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:หน่วยความอัตราเร็ว|สีเยง]]
 
[[af:Spoed van klank]]