ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลื่อน พงษ์โสภณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการก่อกวนกลับไปรุ่นเมื่อ 19:09, 12 ตุลาคม 2555
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
เรียบเรียงใหม่หมด
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล นักการเมือง
'''นาวาอากาศเอกเลื่อน พงษ์โสภณ''' อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม 2 สมัย และ [[ส.ส.]][[นครราชสีมา]] 6 สมัย
| name = นาวาอากาศเอก<br/>เลื่อน พงษ์โสภณ
| image =
| order = [[รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย|รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม]]
| primeminister = [[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล แปลก พิบูลสงคราม]]
| term_start = [[11 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2494]]
| term_end = [[26 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2500]]
| successor = ชื่น ระวิวรรณ
| order2 = [[รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง|รัฐมนตรี]]
| term_start2 = [[11 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2490]]
| term_end2 = [[8 เมษายน]] [[พ.ศ. 2491]]
| primeminister2 = [[ควง อภัยวงศ์]]
| birth_date = {{วันเกิด|2439|5|8}}
| birth_place = [[กรุงเทพมหานคร]] [[ประเทศไทย]]
| death_date = {{วันตายและอายุ|2519|7|29|2439|5|8}}
| death_place = [[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]] กรุงเทพฯ
| party = [[พรรคประชาธิปัตย์|ประชาธิปัตย์]]
| spouse = สุเนตร บุญญสิทธิ์
| children = ทิพยาภรณ์ (ญ),<br/>ผาณิต (ญ),<br/>เลิศชาย (ช)
| religion = [[พุทธ]]
| signature =
| footnotes =
}}
 
'''นาวาอากาศเอก เลื่อน พงษ์โสภณ''' อดีต[[รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม 2 สมัย]][[ที่สุดในประเทศไทย|คนแรกของประเทศไทย]] และ อดีต[[ส.ส.สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] 6 สังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]]หลายสมัย
== ประวัติเบื้องต้น ==
เป็นบุตรของ ขุนเชี่ยวหัสดิน (เถา) และ นางแฉ่ง เกิดที่[[กรุงเทพมหานคร]] เมื่อวันที่ [[8 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2439]] ตรงกับ[[ปีจอ]] เดือน ๖ แรม ๔ ค่ำ บิดามารดามีอาชีพค้าขาย[[เฟอร์นิเจอร์]]และเครื่องเรือนซึ่งเรียกกันว่า "ร้านจำหน่ายของสยาม" และเป็นเจ้าของโรงเลื่อย
 
== ประวัติเบื้องต้น ==
เมื่อยังเด็ก เริ่มเรียนหนังสือเมื่ออายุได้ 6 ขวบที่โรงเรียนใกล้ ๆ บ้าน คือ โรงเรียนอรพินท์ เมื่อจบประถม มารดา นำไปฝากเรียนที่วัดรังษี เพื่อให้พระช่วยอบรมสั่งสอนในเรื่องศีลธรรมจรรยา เนื่องจากดื้อมากถูกบิดาเฆี่ยนตีทุกวันแต่ไม่เข็ดหลาบ ต่อมามารดาได้ตั้งใจว่าจะให้เรียน[[กฎหมาย]] แต่ น.อ.เลื่อน อยากจะเป็นทหาร จึงได้ไปสมัครเข้าเรียนใน[[โรงเรียนนายร้อยทหารบก]] เมื่อใกล้จะสำเร็จการศึกษาพอดีเกิด
นาวาอากาศเอก เลื่อน เกิดเมื่อวันที่ [[8 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2439]] ตรงกับแรม 4 ค่ำ เดือน 6 [[ปีจอ]] ที่[[กรุงเทพมหานคร]] เป็นบุตรของขุนเชี่ยวหัสดิน (เถา) และแฉ่ง (มารดา) ซึ่งประกอบกิจการโรงเลื่อย และค้าขาย[[เฟอร์นิเจอร์|เครื่องเรือน]] โดยใช้ชื่อว่า ''ร้านจำหน่ายของสยาม'' น.อ.เลื่อน เริ่มเข้าศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนอรพินท์ เมื่ออายุได้ 6 ปี จากนั้นมารดาฝากไว้กับพระสงฆ์ เพื่อให้ศึกษาต่อทางศีลธรรมที่วัดรังษี ต่อมานางแฉ่งตั้งใจให้ศึกษาทาง[[กฎหมาย]] แต่ฝ่าย น.อ.เลื่อนอยากเป็นทหาร จึงสมัครเข้าศึกษาต่อที่[[โรงเรียนนายร้อยทหารบก]]
[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] ทางราชการได้ประกาศรับสมัครทหารอาสาไปทำการรบที่[[ประเทศฝรั่งเศส]] ด้วยความกระตือรือร้นอยากจะไปแสวงหาความรู้ในต่างประเทศจึงลาออกจากโรงเรียนนายร้อยไปสมัครเป็นทหารอาสายศเป็นสิบโทและได้เดินทางไปประเทศฝรั่งเศส สมความปรารถนาระหว่างนั้นทางราชการได้ประกาศให้ทุนผู้สนใจเข้าศึกษาวิชาเครื่องยนต์ต่อที่[[ปารีส]] จึงสมัครสอบปรากฏว่าสอบได้ที่ 1 ได้รับทุนเรียนด้านเครื่องยนต์จนจบหลักสูตรที่และได้กลับมาเปิดสอนวิชาเครื่องยนต์ในเมืองไทยเป็นคนแรก
 
เมื่อใกล้สำเร็จการศึกษา เป็นระยะที่เกิด[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] น.อ.เลื่อนตัดสินใจลาออกจากเส้นทางการเป็นนายร้อย เข้าสมัครเป็นทหารอาสาไปทำการรบที่[[ประเทศฝรั่งเศส]] ตามที่ทางราชการประกาศรับ ด้วยความกระตือรือร้น สมความปรารถนา ที่ต้องการไปแสวงหาความรู้ในต่างประเทศ โดยได้รับยศเป็นสิบโท ระหว่างนั้นทางราชการประกาศให้ทุนการศึกษาต่อ ในสาขาวิชาเครื่องยนต์ที่[[กรุงปารีส]] แก่ผู้สนใจ น.อ.เลื่อน จึงเข้าสมัครและสอบได้อันดับที่ 1 จึงศึกษาจนจบหลักสูตร และกลับมาเป็นบุคคลแรก ที่เปิดสอนวิชาเครื่องยนต์ในประเทศไทย
== ศึกษาต่อต่างประเทศและการบิน ==
เมื่อปี [[พ.ศ. 2473]] ได้รับพระราชทานทุนส่วนพระองค์จาก[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ให้ไปศึกษาวิชาการบินที่ Parks Ais College ใน East St.Louis [[รัฐอิลลินอยส์]] [[สหรัฐอเมริกา]]เป็นเวลา 3 ปี และในระหว่างที่ศึกษาอยู่นั้น น.อ. เลื่อนได้รับจ้างแสดงการผาดโผนต่าง ๆ บน[[เครื่องบิน]]ที่กำลังบินอยู่ เป็นที่ชื่นชอบของผู้ชมจึงได้เดินทางไปแสดงในรัฐต่าง ๆ หลายแห่งสามารถเก็บเงินซื้อเครื่องบินส่วนตัวได้ 1 เครื่อง ในราคา 6,000 บาท ให้ชื่อว่าเครื่องบิน'''[[นางสาวสยาม]]''' หรือ '''Miss Siam''' ซึ่งเมื่อกลับเมืองไทยได้พยายามใช้เป็นพาหนะบินกลับมาด้วยตนเอง
 
=== ศึกษาต่อต่างประเทศและการบิน ===
ก่อนที่จะได้ทำงานใน Aerial Transport Company น.อ.เลื่อน พงษ์โสภณ ต้องว่างงานอยู่ 1 ปีเต็ม เนื่องจากหน่วยบินต่าง ๆ ยังไม่เชื่อความสามารถ จึงมีความคิดว่าจะต้องพิสูจน์ให้ดูก่อนโดยขอพระบรมราชานุญาตพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว บินไปเชื่อมความสัมพันธ์ที่[[ประเทศจีน]]ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากเพื่อนฝูงช่วยกันเรี่ยไรเงินให้เป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางครั้งนี้ 2,000 บาท เริ่มออกเดินทาง
ต่อมา เมื่อปี [[พ.ศ. 2473]] [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานทุนส่วนพระองค์ ให้ไปศึกษาวิชาการบินที่วิทยาลัยปาร์กสแอร์ส (Parks Air College) ในเมืองเซนต์หลุยส์ตะวันออก (East St.Louis) [[รัฐอิลลินอยส์]]ของ[[สหรัฐอเมริกา]] เป็นเวลา 3 ปี โดยระหว่างที่ศึกษาอยู่นั้น น.อ.เลื่อน รับจ้างแสดงการบินอย่างผาดโผนต่างๆ กลางอากาศ เป็นที่ชื่นชอบของผู้ชม จึงมีโอกาสเดินทางไปแสดงในรัฐต่างๆ หลายแห่ง สามารถเก็บเงินซื้อเครื่องบินปีกสองชั้นได้ 1 เครื่อง ในราคา 6,000 บาท ให้ชื่อว่าเครื่องบิน''[[นางสาวสยาม]]'' หรือ ''Miss Siam'' เมื่อถึงกำหนดกลับสู่ประเทศไทย น.อ.เลื่อน พยายามจะใช้เป็นพาหนะบินกลับมาด้วยตนเอง ทว่าไม่ประสบความสำเร็จ จึงต้องขนส่งกลับมาโดยวิธีการอื่น ซ้ำยังต้องว่างงานอยู่เป็นเวลา 1 ปี เนื่องจากหน่วยบินต่างๆ ยังไม่เชื่อถือ น.อ.เลื่อนจึงมีดำริในการพิสูจน์ความสามารถให้เป็นที่ประจักษ์ จึงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ทำการบินไปเจริญสัมพันธไมตรีกับ[[จักรวรรดิจีน]] โดยเริ่มออกเดินทางเมื่อวันที่ [[22 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]] ด้วยเครื่องบินนางสาวสยาม
เมื่อวันที่ [[22 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]] ด้วยเครื่องบินนางสาวสยาม ซึ่งเป็นเครื่องบินปีกสองชั้น ในระหว่างการเดินทาง ไปประเทศจีนนั้น ได้พบอุปสรรคมากมาย เช่น เครื่องบินเสียต้องร่อนลงซ่อมเครื่องเองแวะลงที่ไหนก็ถูกทหารเมืองนั้นจับกุมมีความลำบากในเรื่องอาหารการกินและที่พักหลับนอน บางแห่งไม่มีสนามบินต้องร่อนลงที่โล่งกว้าง เช่น [[สนามฟุตบอล]]แทน ในช่วงที่บินผ่าน[[มณฑลกวางตุ้ง]]ถูกเรือรบใช้ปืนยิงเครื่องบินทะลุ เพราะเข้าใจว่าเป็นเครื่องบินของฝ่ายตรงข้ามที่กำลังทำสงครามแย่งอำนาจกันอยู่ในขณะนั้น จึงต้องร่อนลงที่ชายหาดและใช้ปฏิภาณตลอดจนความรู้เรื่องช่างเครื่องยนต์มาแก้ปัญหา เอาตัวรอดมาได้อย่าหวุดหวัดจนบินไปถึง[[ซัวเถา]] แวะพัก 2 คืน ไม่สามารถบินต่อไปจนถึง[[เซี่ยงไฮ้]]ได้ เนื่องจากมีการสู้รบระหว่างจีนกับ[[ญี่ปุ่น]]ที่เซี่ยงไฮ้ จึงต้องบินเดินทางกลับ
 
เมื่อระหว่างการเดินทางก็ประสบกับอุปสรรคอย่างมาก อาทิ เครื่องบินเสียต้องร่อนลงซ่อมเครื่องเองแวะลงที่ไหนก็ถูกทหารเมืองนั้นจับกุมมีความลำบากในเรื่องอาหารการกินและที่พักหลับนอน บางแห่งไม่มีสนามบินต้องร่อนลงที่โล่งกว้างอย่าง[[สนามฟุตบอล]]แทน ในช่วงที่บินผ่าน[[มณฑลกวางตุ้ง]]ถูกเรือรบใช้ปืนยิงเครื่องบินทะลุ เพราะเข้าใจว่าเป็นเครื่องบินของฝ่ายตรงข้ามที่กำลังทำสงครามแย่งอำนาจกันอยู่ในขณะนั้น จึงต้องร่อนลงที่ชายหาดและใช้ปฏิภาณตลอดจนความรู้เรื่องช่างเครื่องยนต์มาแก้ปัญหา เอาตัวรอดมาได้อย่าหวุดหวัดจนบินไปถึง[[ซัวเถา]] แวะพัก 2 คืน ไม่สามารถบินต่อไปจนถึง[[เซี่ยงไฮ้]]ได้ เนื่องจากมีการสู้รบระหว่างจีนกับ[[ญี่ปุ่น]]ที่เซี่ยงไฮ้ จึงต้องบินเดินทางกลับ เมื่อถึงประเทศไทยแล้ว น.อ.เลื่อนได้ขน นำเครื่องบินนางสาวสยาม จาก[[สนามบินดอนเมือง]] กลับไปไว้ที่บ้านบ้านพักย่านบางขุนพรหม เพราะไม่มีเงินสตางค์เสียค่าจอดในโรงเก็บเดือนละ 50 บาท และจะบินไปไหนตามใจชอบก็ไม่ได้ถ้า หากจะทำการบิน ต้องขออนุญาตทุกครั้งไป และจะทั้งไม่สามารถบินให้ไกลกว่า 50 ไมล์ ก็ไม่ได้ จะเนื่องจากทางราชการอนุญาตให้ทำการบินได้ก็เพียงโดยรอบสนามบินเท่านั้น เมื่อมีเรื่องยุ่งยาก ดังนี้ น.อ.เลื่อน จึงไม่คิดจะทำการบินอีกต่อไป
 
=== การเมือง ===
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2476]] ซึ่งเป็นระยะหลัง[[การปฏิวัติสยาม|เปลี่ยนแปลงการปกครอง]]ไม่นานนัก น.อ.เลื่อนเข้าทำงานกับ[[บริษัท ขนส่ง จำกัด]]<ref>ต่อมาแยกกิจการบินไปขึ้นกับ บริษัท เดินอากาศ จำกัด หรือ[[บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด]] และรวมกิจการกับ[[บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)]] ในที่สุด</ref> (Aerial Transport Company Limited) ที่จังหวัดนครราชสีมา และมีโอกาสพูดคุยกับเพื่อนร่วมงานหลายคน จึงเกิดความสนใจในเรื่อง[[การเมือง]] เนื่องจากมีความปรารถนาจะช่วยเหลือประเทศชาติ น.อ.เลื่อนจึงตัดสินใจลงสมัครรับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่จังหวัดนครราชสีมา ในสังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]] แต่ด้วยมีทุนรอนน้อยจึงมิได้ตั้งความหวังไว้มากนัก ทว่าบังเอิญได้รับเลือกตั้ง จึงเปลี่ยนวิถีชีวิตมาเล่นการเมือง และลาออกจากงานตั้งแต่บัดนั้น ทั้งนี้ น.อ.เลื่อนได้รับเลือกตั้งถึง 6 สมัย เป็นเวลาประมาณ 25 ปี โดย น.อ.เลื่อน ยังร่วมกับคณะนายทหาร เข้า[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490|กระทำ]][[รัฐประหาร]]เมื่อวันที่ [[8 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2490]] ต่อมาได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น[[รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง|รัฐมนตรี]] ในรัฐบาล[[ควง อภัยวงศ์]] และ[[รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม|รัฐมนตรีช่วยว่าการ]][[กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)|กระทรวงอุตสาหกรรม]] ในรัฐบาล[[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล แปลก พิบูลสงคราม]] นอกจากนี้ ยังเคยดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการองค์การน้ำตาลไทย เป็นระยะเวลา 10 ปี และได้รับพระราชทานยศเป็น ''นาวาอากาศเอก'' เมื่อปี [[พ.ศ. 2500]]
 
=== บั้นปลายชีวิต ===
น.อ.เลื่อน พงษ์โสภณ ได้เข้าทำงานในบริษัท Aerial Transport Companyในปีต่อมา ระหว่างที่ทำงานอยู่บริษัท Aerial Transport Companyที่[[จังหวัดนครราชสีมา]]เป็นระยะของ[[การปฏิวัติสยาม|การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]ได้คุยกับเพื่อน ๆ เรื่อง[[การเมือง]]จึงเกิดมีความสนใน เพราะคิดวาจะได้มีโอกาสช่วยประเทศชาติในด้านนี้จึง
หลังจากเกษียณอายุราชการแล้ว น.อ.เลื่อน ใช้เวลาว่างเดินทางไปพักผ่อนต่างประเทศเป็นครั้งคราว รวมทั้งเข้าศึกษาวิชาการพิมพ์ลายผ้า ที่[[สหรัฐอเมริกา]]จนจบหลักสูตร มีดำริจะทำโรงพิมพ์ผ้าลายไทยในประเทศไทย แต่สุขภาพไม่เอื้ออำนวยจึงยุติไป น.อ.เลื่อน ถึงแก่อนิจกรรมอย่างสงบ ด้วยอาการ[[เส้นเลือด]]ใน[[สมอง]]ตีบ ซึ่งแทรกซ้อนจากการผ่าตัด[[ต่อมลูกหมาก]] เมื่อวันที่ [[29 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2519]] ที่[[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]] สิริอายุ 80 ปี น.อ.เลื่อน สมรสกับคุณหญิงสุเนตร ([[นามสกุล]]เดิม: บุญญสิทธิ์) เมื่อวันที่ [[19 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2480]] มีธิดา 2 คนคือ ทิพยาภรณ์ กับผาณิต (สมรสกับวารินทร์ พูนศิริวงศ์ ประธานกรรมการบริษัท หนังสือพิมพ์แนวหน้า จำกัด) และบุตร 1 คนคือ เลิศชาย
คิดสมัครผู้แทนซึ่งสมัครโดยไม่ตั้งใจเพราะมีทุนรอนน้อย แต่บังเอิญได้รับเลือกตั้งในเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] (ส.ส.) จังหวัดนครราชสีมาจึงได้เปลี่ยนวิถีชีวิตมาเล่นการเมือง โดยลาออกจากงานตั้งแต่นั้นมาและได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส.ถึง 6 สมัย เป็นเวลาประมาณ 25 ปี โดยสังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]]
 
ในเหตุการณ์[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490|รัฐประหารเมื่อปี พ.ศ. 2490]] น.อ.เลื่อน ได้ร่วมกับคณะนายทหารทำการรัฐประหารด้วย
 
เคยได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงอุตสาหกรรม]] 2 สมัย ในรัฐบาล[[พันตรีควง อภัยวงศ์]] และ สมัยรัฐบาล[[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]]
 
นอกจากนี้ยังได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการองค์การน้ำตาลไทย เป็นเวลา 10 ปี ได้รับพระราชทานยศเป็น นาวาอากาศเอก เมื่อปี [[พ.ศ. 2500]]
 
==บั้นปลายชีวิต==
หลังจากครบเกษียณอายุราชการแล้ว น.อ.เลื่อน พงษ์โสภณ ได้ใช้เวลาว่างเดินทางไปต่างประเทศเป็นครั้งคราว และได้ไปศึกษาวิชาการพิมพ์ลายผ้าที่สหรัฐอเมริกาจนจบหลักสูตร มีความตั้งใจจะทำโรงพิมพ์ผ้าลายไทยในประเทศไทย แต่สุขภาพไม่เอื้ออำนวยจึงยุติไป
 
น.อ.เลื่อน พงษ์โสภณ เสียชีวิตอย่างสงบในวันที่ [[29 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2519]] ที่[[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]] รวมอายุได้ 80 ปี จากโรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด[[ต่อมลูกหมาก]] คือ [[เส้นเลือด]]ใน[[สมอง]]ตีบ
 
ชีวิตส่วนตัว เป็นผู้ที่มีบุคคลิกพูดตรงไปตรงมา อาจทำให้ดูขวานผ่าซาก แต่เป็นผู้ที่มีความจริงใจกับคนรอบด้าน ชอบช่วยเหลือบุคคลรอบด้านที่ทุกข์ยาก ชอบเครื่องยนตร์กลไลทุกชนิด ชีวิตครอบครัว สมรสกับ คุณหญิงสุเนตร (นามสกุลเดิม บุญญสิทธิ์ ) เมื่อวันที่ [[19 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2480]] มีบุตร
ธิดารวมกัน 3 คน คือ
 
1. นางสาว ทิพยาภรณ์ พงษ์โสภณ
2. นางผานิต พูนศิริวงศ์ สมรสกับ นายวาริณ พูนศิริวงษ์
3. นายเลิศชาย พงษ์โสภณ
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 42 ⟶ 45:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://www.rta.mi.th/61500u/Link/sayam.htm นางสาวสยาม]
* [http://www.thaisouthtoday.com/index.php?file=news&obj=forum (1803) พลิกปูม 61 ปี ก่อนศาลรธน.ชี้ชะตาปชป.]
* Edward M. Young: Aerial Nationalism, Smithsonian Institution Press,1995
 
{{จบอ้างอิง}}
 
เส้น 58 ⟶ 61:
{{รัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง}}
 
{{เรียงลำดับ|ลเลื่อนลื่เอน พงษ์โสภณ}}
{{เกิดปี|2440}}
{{ตายปี|2519}}
[[หมวดหมู่:ทหารอากาศชาวไทยบุคคลจากกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]]
[[หมวดหมู่:นักประดิษฐ์ชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:ทหารอากาศชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:นักการเมืองไทย]]
[[หมวดหมู่:พรรคประชาธิปัตย์]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย]]
[[หมวดหมู่:รัฐมนตรีไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย]]
[[หมวดหมู่:พรรคประชาธิปัตย์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.]]