ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความน่าสะพรึงกลัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
 
== ภูมิหลัง ==
ฤดูร้อน [[พ.ศ. 2336]]1793 การปฏิวัติของฝรั่งเศสส่งผลกระทบ ทั้งการภายในและกลุ่มผู้ก่อกบฏจากราชวงศ์ต่าง ๆ ในยุโรป ทำให้เกิดความกลัวว่าการปฏิวัติจะขยายลุกลามสู่ ประเทศโดยรอบที่ปกครองด้วยระบอบ[[ราชาธิปไตย]] จึงส่งกองกำลังมาประชิดชายแดนฝรั่งเศส จนเกิดการประทะกันกับทหารของฝ่ายสาธารณรัฐฝรั่งเศส
 
กองกำลังต่างชาติได้ข่มขู่ฝรั่งเศสให้ปล่อย[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส]]และคืนราชสมบัติให้พระองค์ [[ดยุกแห่งเบราน์ชไวก์]]ประเทศแห่ง[[ปรัสเซีย]]ถึงกับขู่ว่าจะเข้าปล้น[[กรุงปารีส]] หากชาวปารีสแตะต้องพระบรมวงศานุวงศ์ และมีกระแสความเชื่อสงสัยว่าพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 เองอาจเป็นผู้สมรู้ร่วมคิดกับรัฐบาลต่างชาติ ให้บุกฝรั่งเศสเพื่อเข้ามาฟื้นฟูระบอบกษัตริย์
 
ชนชั้นสูงของฝรั่งเศสจำนวนมากที่สูญเสียทรัพย์สิน ต่างได้ประโยชน์จากพ่ายแพ้ของฝ่ายปฏิวัติ ฝ่ายศาสนาก็เช่นกัน ต่อต้านฝ่ายปฏิวัติ เพราะมิฉะนั้นพวกพระถูกลดฐานะเป็นเพียงลูกจ้างของรัฐ และยังต้องสาบานตนว่าจะจงรักภักดีต่อรัฐบาล ทำให้บาทหลวงมากกว่าครึ่งหนึ่ง (ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคตะวันตก) ปฏิเสธจะสาบานตน และประกาศตนเป็นฝ่ายดื้อดึง (Non-juror) บาทหลวง[[โรมันคาทอลิก]] และชนชั้นสูงในภาคตะวันตก รวมตัวก่อกบฏต่อต้านรัฐบาลฝ่ายปฏิวัติ โดยได้รับการสนับสนุนจาก[[บริเตนใหญ่]]
ทำให้บาทหลวงมากกว่าครึ่งหนึ่ง (ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคตะวันตก) ปฏิเสธจะสาบานตน และประกาศตนเป็น ฝ่ายดื้อดึง (Non-juror)
บาทหลวง[[โรมันคาทอลิก]] และชนชั้นสูงในภาคตะวันตก รวมตัวก่อกบฏต่อต้านรัฐบาลฝ่ายปฏิวัติ โดยได้รับการสนับสนุนจาก[[บริเตนใหญ่]]
 
สงครามกลางเมืองและการประชิดของกองกำลังต่างชาติ สร้างวิกฤติทางการเมืองขึ้นอย่างรุนแรง และเกิดการแตกแยกขึ้นในรัฐสภาเอง
 
== ความสยดสยองน่าสะพรึงกลัว ==
ในวันที่ [[2 มิถุนายน]] มีการยึดอำนาจในสภาโดยเรียกร้องให้ฝ่ายบริหารและฝ่ายการเมืองลดและกำหนดราคาขนมปังตายตัวและลดการให้สัมปทานแก่บางฝ่ายเป็นการเฉพาะ และด้วยการสนับสนุนของกองกำลังแห่งชาติพวกดังกล่าวสามารถโน้มน้าวให้จับกุมบุคคลผู้นำกลุ่มการเมือง[[ฌีรงแด็ง]] ไป 31 คน และจากการจับกุมครั้งนี้ทำให้ฝ่าย Jacobin ฌากอแบ็งมีอิทธิพลมากขึ้นจนสามารถคุม[[คณะกรรมาธิการฝ่ายกรรมการความมั่นคงปลอดภัยสาธารณะ]]ไว้ได้เมื่อวันที่ [[10 มิถุนายน]] และจัดตั้งระบบเผด็จการฝ่ายปฏิวัติขึ้นมาได้ เมื่อวันที่ [[13 มิถุนายน]] ผู้นำที่เป็นนักหนังสือพิมพ์ด้วยฝ่าย Jacobin ฌากอแบ็งปากกล้าที่ถูกตราว่ากระหายเลือดถูกสังหารโดยฝ่าย Girodinฌีรงแด็ง กลับมีผลให้ฝ่าย Jacobin ฌากอแบ็งมีอิทธิพลทางการเมืองสูงขึ้น ฝ่ายปฏิวัติคนหนึ่งที่ช่วยโค่นล้มกษัตริย์ซึ่งมีภาพลักษณ์เป็นพวกหรูหราถูกปลดจากตำแหน่งกรรมาธิการและตั้งคนที่ "''บริสุทธิ์จากการคอร์รัปชั่น''" คนหนึ่งขึ้นมาแทนและกลายเป็นผู้มีอิทธิพลมากที่สุดในคณะกรรมาธิการที่กำลังเพิ่มมาตรการปราบปรามพวกต่อต้านต่างจังหวัดและข้าศึกต่างชาติ
 
ในขณะเดียวกัน รัฐสภาก็ได้ผ่านการรับรอบรัฐธรรมนูญ[[สาธารณรัฐ]]ฉบับแรกของฝรั่งเศส
 
ท่ามกลางการต่อต้านภายในและการรุกรานของต่างชาติทั้งทางตะวันออกและตะวันตก ภารกิจหลักของรัฐบาลสาธารณรัฐฯ จึงเน้นที่สงคราม ในวันที่ [[17 พฤษภาคม]] สภาลงมติให้เกณฑ์ทหารเข้ากองกำลัง และในวันที่ 5 กันยายนนั้นเอง รัฐสภาก็ได้ลงมติรับ "ความเหี้ยมโหดน่าสะพรึงกลัว" ให้มีความถูกต้องตามรัฐธรรมนูญโดยอนุมัติให้ปราบปรามข้าศึกศัตรูภายในประเทศได้โดยเด็ดขาด
 
ผลที่ตามมาคือการใช้กำลังปราบปราบฝ่ายต่อต้านรัฐบาลเกิดขึ้นอย่างรุนแรง และภายใต้การควบคุมอย่างมีประสิทธภาพของกรรมาธิการความั่นคงคณะกรรมการความปลอดภัยสาธารณะ ได้มีการออกกฎหมายอีกหลายฉบับ วันที่ [[9 กันยายน]] ได้ออกกฎหมายจัดตั้งกองกำลังร่วมประชาชนฝ่ายปฏิวัติเพื่อบังคับให้ชาวนามอบผลผลิตให้แก่รัฐตามที่รัฐต้องการ วันที่ [[17 กันยายน]] มีการออกกฎหมายให้อำนาจการจับกุมผู้ต้องสงสัยที่เข้าข่ายเป็น ''ผู้ก่ออาชญากรรมต่อเสรีภาพ'' วันที่ [[29 กันยายน]] รัฐสภาได้เพิ่มการกำหนดราคาตายตัวที่ต่ำลงสำหรับธัญพืช ขนมปังและสินค้าจำเป็นอีกหลายอย่าง รวมทั้งการกำหนดค่าแรงตายตัวให้ต่ำลง กิโยตินได้กลายเป็นสัญลักณ์แห่งการประหารชีวิตที่ต่อเนื่อง [[พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส]] ได้ถูกบั่นพระเศียรด้วยกิโยตินไปก่อนหน้าการเริ่มยุคตั้งแต่ก่อนสมัยแห่งความเหี้ยมโหดนี้น่าสะพรึงกลัวไปแล้ว พระนางพวกฌีรงแด็ง [[มารีหลุยส์ อ็องตัวแน็ต]]ฟิลิปป์ที่ พวก2 Girondinดยุคแห่งออร์เลอองส์|ฟิลิปป์ ฟิลิปเปเอกาลีเต Égalité(หลุยส์ ฟิลิปป์ที่ 2 ดยุคแห่งออร์เลอองส์)]] ผู้ซึ่งลงคะแนนให้ประหารพระเจ้าหลุยส์ มาดามดรแลนด์มาดามโรลองด์และผู้คนอีกมากมายได้มากถูกประหารโดยกิโยติน ศาลคณะปฏิวัติได้พิพากษาประหารชีวิตคนหลายพันคนด้วยกิโยติน ผู้เคราะห็เคราะห์ร้ายจำนวนมากถูกฝูงชนทุบตีจนตายอย่างโหดร้าย ประชาชนจำนวนมากตายเนื่องจากการเพราะมีตวามเห็นทางการเมืองที่แตกต่าง ไม่น้อยที่ถูกประหารชีวิตเพียงด้วยข้อสงสัยเล็กๆเล็ก ๆ น้อย น้อยๆ หรืออาจเพียงเป็นบังเอิญผู้มีส่วนได้เสียเพียงเล็กน้อยกับฝ่ายตรงข้าม ผู้เคราะห์ร้ายส่วนใหญ่ถูกลากตัวไปกับเกวียนไม้แบบเปิดที่ทำไว้เฉพาะสำหรับการประจานนักโทษ และถูกโห่ประจานไปตลอดทาง
 
เหยื่อของยุคสมัยแห่งความเหี้ยมโหดน่าสะพรึงกลัวที่ถูกตัดสินประหารชีวิตโดยศาลฝ่ายปฏิวัตินับได้ประมาณ 40,000 คน เป็นชนชั้นปกครองชั้นสูง 8% พระ 6% ชนชั้นกลาง 14% และอีก 70% เป็นคนงานและชาวนายากจนที่ถูกกล่าวหาว่ากักตุน หนีทหาร ก่อกบฏและก่ออาชญากรรมอื่นๆอื่น ๆ ในกลุ่มสังคมเหล่านี้ พระแคทอลิกคาทอลิกมีสัดส่วนการสูญเสียมากที่สุด{{อ้างอิง}}
 
ความพยายามของรัฐบาลปฏิวัติในการล้มเลิก[[ศาสนาคริสต์]]ในฝรั่งเศสเริ่มที่นิกายโรมันคาทอลิกก่อนและลุกลามไปทุกนิกาย ด้วยการออกเป็นกฎหมายเมื่อวันที่ [[21 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2336]]1793 ให้เนรเทศและประหารชีวิตนักบวชไปเป็นจำนวนมาก มีการปิดโบสถ์วิหารและสถาบันของลัทธิต่าง ๆ มากมาย มีการทำลายศาสนสถานและรูปเคารพทางศาสนาในวงกว้าง ออกกฎหมายห้ามการสอนศาสนาและปิดโรงเรียนที่อิงศาสนา มีการเพิกถอนความเป็นบาทหลวง บังคับบาทหลวงให้แต่งงานและกำหนดโทษประหาร ณ ที่ที่จับได้แก่ผู้ให้ที่พักพิงแก่ผู้หลบหนี มีการทำพิธีสถาปนาปรัชญาความเชื่อเป็นใหม่ของฝ่ายปฏิวัติเรียกว่าลัทธิ "Supreme Being" ที่เชื่อว่ามีผู้สูงส่งเบื้องบนคอยดูแลฝรั่งเศสอยู่
 
== การยุติ ==
[[ไฟล์:Execution robespierre, saint just....jpg|right|thumb|การประหารชีวิตรอแบ็สปีแยร์]]
 
ความพยายามสร้างความสมานฉันท์และความรักชาติให้เกิดขึ้นของฝ่ายปฏิวัติกลับนำมาซึ่งการนองเลือดอย่างต่อเนื่อง หลังการได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดจกาการสู้รบกับฝ่ายออสเตรีย รอแบ็สปีแยร์ผู้ยึดอำนาจและเป็นเผด็จการทางรัฐสภาก็ถูกโค่นอำนาจโดยการสมรู้ร่วมคิดของสมาชิกสภาหลายคนและถูกนำไปตัดศีรษะด้วยกิโยตินพร้อมกับพวกในกลุ่มหลายคนเมื่อวันที่ [[28 กรกฎาคม]] ซึ่งเหตุการณ์นี้นำไปสู่ยุคที่เรียกว่า "''เหี้ยมขาว''" (White Terror.)" ซึ่งเป็นยุคต่อต้านความโหดเหี้ยมที่นำโดย Robespierreรอแบ็สปีแยร์ ซึ่งยังคงมีความโหดเหี้ยมเกิดขึ้นประปรายไปอีกระยะหนึ่ง ซึ่งมีการประหารพวก Jacobins ฌากอแบ็งไปอีกหลายร้อยคน
 
== อ้างอิง ==