ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศีลศักดิ์สิทธิ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ca:Set Sagraments
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Seven Sacraments Rogier.jpg|thumb|right|320px|''ศีลศักสิทธิ์ทั้งศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 7 (The Seven Sacraments) '' โดย [[โรเจียร์ ฟาน เดอ เวย์เด็น]], ราว ค.ศ. 1448]]
 
'''ศีลศักดิ์สิทธิ์ ''' เป็น[[พิธีศักดิ์สิทธิ์]] (Sacraments) ใน[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]] เป็นเครื่องหมายภายนอกที่แสดงว่าบุคคลที่ได้รับศีลศักดิ์สิทธิ์นี้แล้วคือผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์หรือเรียกอีกอย่างว่า [[คริสต์ศาสนิกชน]]
บรรทัด 12:
 
ศีลศักดิ์สิทธิ์ที่ได้รับการรับรองจากศาสนจักรคาทอลิกมีอยู่ 7 ศีล ดังต่อไปนี้คือ
# [[ศีลล้างบาป]] (Baptism)
# [[ศีลมหาสนิท]] ( Eucharistic; Communion)
# [[ศีลอภัยบาป]] ( Penance ) หรือ ศีลแห่งการคืนดี
# [[ศีลกำลัง]] ( Confirmation )
# [[ศีลสมรส]] ( Matrimony )
# [[ศีลเจิมคนไข้]] ( Anointing of the Sick )
# [[ศีลอนุกรม]] ( Holy Orders )
 
== ศีลล้างบาป (Baptism) ==
[[ไฟล์:Baptism3.jpg|thumb|150px|[[พระเยซูขณะทรงรับพิธีล้างบัพติศมา]]]]
[[ไฟล์:Baptism2.jpg|thumb|150px|การโปรดศีลล้างบาปแก่เด็กทารก]]
 
[[ศีลล้างบาป]] (Baptism) เป็นเครื่องหมายภายนอกที่มาจากความเชื่อ เพื่อเป็นการชำระหรือลบล้าง[[บาปกำเนิด]] อาศัยการช่วยให้รอดขององค์พระเยซูคริสตเจ้า
 
=== พิธีกรรม ===
พิธีการรับศีลล้างบาปนี้ มีเครื่องหมายที่สำคัญคือการใช้น้ำ และการชำระล้างพร้อมกับคำกล่าวว่า '''ข้าพเจ้าล้างท่าน ในพระนามของ พระบิดา และพระบุตร และพระจิต''' ผลของศีลล้างบาปมีความเชื่อว่าทำให้ได้รับพระหรรษทานได้กลับเป็นลูกของพระg0hk มีเกียรติและศักดิ์ศรีสมบูรณ์แบบ เพื่อดำเนินชีวิตไปสู่เป้าหมายของความศักดิ์สิทธิ์ทั้งในชีวิตนี้และชีวิตนิรันดรในสวรรค์
 
ผู้รับศีลล้างบาปอาจกระทำได้ตั้งแต่เริ่มเกิดใหม่หรือกระทำตอนโตเป็นผู้ใหญ่ ซึ่งจะดีกว่า เพราะเป็นการกระทำด้วยความศรัทธาของตนอย่างแท้จริง ผู้ทำพิธีคือ[[อธิการโบสถ์]]หรือผู้ที่คุณพ่ออธิการได้มอบหมาย แต่ในยามวิกฤตใกล้ตายก็โปรดศีลล้างบาปให้ได้ทั้งนั้น ผู้โปรดศีลล้างบาปจะต้องทำให้ถูกวิธี มิฉะนั้นจะเป็นโมฆะ
บรรทัด 34:
 
=== ความสำคัญ ===
ผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์ทุกคนต้องผ่านพิธีรับศีลนี้ก่อน เพื่อแสดงว่าตนเองได้เข้ามาเป็นสมาชิกของศาสนจักรแล้ว จึงจะสามารถรับศีลอื่น ๆ ต่อไปได้อีก การรับศีลล้างบาปนี้กระทำได้เพียงครั้งเดียวในชีวิตแม้ว่าจะเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอื่น แต่ถ้ากลับมานับถือศาสนาคริสต์อีกก็ไม่ต้องรับศีลนี้ เพราะถือได้ว่าทำการล้างบาปแล้ว ทั้งนี้เพราะชาวคริสต์เชื่อกันว่ามนุษย์มีบาปกำเนิดติดตัวมาตั้งแต่เกิดสืบมาแต่บรรพบุรุษ ซึ่งตาม[[พันธสัญญาเดิม]] ในศาสนาคริสต์บอกว่าบาบกำเนิดนี้มาจากมนุษย์คู่แรก คือ [[อาดัมและอีฟดัม]]และ[[เอวา]]
 
=== ประวัติ ===
พิธีล้างบาปสืบเนื่องมาจากความเชื่อของพวกอิสราเอลนับตั้งแต่ยุคพันธสัญญาเดิมที่เชื่อกันว่าการชำระล้างด้วยน้ำเป็นเครื่องหมายของการชำระทางจิตใจ การทำ เริ่มมาจาก[[พระเยซูทรงรับบัพติศมาหรือการทำพิธีล้างบาปนี้ นักบุญศมา]]จาก[[ยอห์นผู้ทำพิธีล้าง ( John the Baptism ) เคยทำให้กับพระเยซูให้บัพติศมา]]ที่[[แม่น้ำจอร์แดน]]และพระเยซูเคยมี[[พระบัญชาของพระเยซู|คำสั่ง]]ให้ผู้ที่จะเป็นสาวกนั้นต้องรับศีลล้างบาปในนามของพระบิดา พระบุตร และพระจิต ชาวคริสต์นับตั้งแต่ยุคแรกจนถึงปัจจุบันนี้จึงได้ถือปฏิบัติตามกันมา เพราะเชื่อว่าเป็นการชำระตนให้บริสุทธิ์จากบาป ยืนยันความเชื่อในพระคริสต์เจ้าผู้ทรงคืนชีพ
 
ศีลล้างบาปเป็นศีลแรกที่ทุกคนต้องรับเพื่อที่จะเป็นสมาชิกของพระศาสนจักร ตามที่พระเยซูเจ้าได้อธิบายให้นิโคเดมุสฟังว่า.."ผู้ที่จะเป็นประชากรของอาณาจักรพระเจ้าจะต้องเกิดใหม่จากน้ำและพระจิต" (ยน.3:1-8)
บรรทัด 43:
คนที่จะรับศีลนี้ต้องแน่ใจว่า จะละทิ้งหนทางที่ไร้ความรัก ความเมตตาต่อมนุษยชาติ และหันมารับเอาหนทางของพระเยซูคริสต์ ตามที่ยอห์นได้ประกาศเป็นแนวทางว่า "จงกลับใจเสียใหม่...ใครมีเสื้อสองตัว จงเอาตัวหนึ่งให้คนที่ไม่มี และคนมีอาหาร จงแบ่งให้คนอดอยาก...ส่วนคนเก็บภาษีอย่าเก็บเกินพิกัด และพวกทหารอย่าบังคับขู่เข็ญเอาเงินจากผู้ใดหรือใส่ร้ายเขา จงพอใจกับค่าจ้างที่ตนได้รับ..." (ลก.3:7-17)
 
ศีลศักดิ์สิทธิ์นี้ยังทำให้เขาเป็นสาวกของพระเยซู มีส่วนร่วมในบุญบารมีและศักดิ์ศรีของพระองค์คือการเป็น[[ปุโรหิต]] [[ผู้เผยพระวจนะ]] และกษัตริย์ (ผู้นำ) ในชีวิตประจำวันของเขา
# หน้าที่ปุโรหิตคือ ภาวนา และร่วมถวายบูชามิสซา
# หน้าที่ประกาศกคือ สั่งสอนด้วยคำพูดและตัวอย่างที่ดี
บรรทัด 72:
[[ไฟล์:Eucharist1.jpg|thumb|150px|การรับศีลมหาสนิทครั้งแรก ในการกินอาหารค่ำมื้อสุดท้าย]]
 
[[ศีลมหาสนิท]]เป็นศีลที่สำคัญที่สุดเป็นศูนย์กลางของชีวิตคริสตชน มีความเชื่อว่าองค์พระเยซูเจ้าประทับอยู่ในศีลมหาสนิทที่เข้ามาสนิทสัมพันธ์เป็นหนึ่งเดียวในความรักของพระองค์ ทุกคนจึงเป็นหนึ่งเดียวกันในครอบครัว เป็นสมาชิกหรือส่วนต่างๆในพระกายทิพย์ของพระเยซู
 
=== พิธีกรรม ===
พิธีกรรมที่สำคัญคือการทำบูชามิซซา โดยมีเครื่องหมายที่สำคัญคือ แผ่นปังและเหล้าองุ่น ที่เป็นพระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจ้า ซึ่งชาวคริสต์จะได้รับจากพระสงฆ์ [[บาทหลวง]]หรือผู้แทนของพระศาสนจักร ในบูชามิสซา หรือพิธีขอบพระคุณ
 
ผู้ที่จะรับศีลมหาสนิทนี้ได้ต้องผ่านการเรียนคำสอน ในพระคัมภีร์ก่อน และต้องประกอบพิธีบูชามิซซาเพื่อรับศีลมหาสนิทครั้งแรกก่อน จึงจะสามารถรับศีลมหาสนิทได้
บรรทัด 83:
 
=== ประวัติ ===
ศีลศักดิ์สิทธิ์ในข้อนี้สืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ในสมัยที่พระเยซูยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งตรงกับคืนวันพฤหัสบดี ก่อนที่จะถูกจับตัวไปตรึงไม้กางเขน คืนวันนั้นได้มีการรับประทาน[[อาหารค่ำมื้อสุดท้าย]]ร่วมกับสาวกทั้ง 12 คน อันเป็นมื้อสุดท้าย ( The Last Supper) ในการรับประทานอาหารครั้งนี้ ขนมปัง และเหล้าองุ่นได้กลายเป็นเครื่องมือสำคัญแห่งพันธสัญญา ทั้งนี้เพราะในขณะรับประทานอาหารนั้น พระเยซูได้ส่งขนมปังให้กับสาวกทั้ง 12 คน พร้อมกับกล่าวว่าขนมปังนี้แทนกายของท่าน จากนั้น พระเยซูได้ส่งเหล้าองุ่นให้กับสาวกและกล่าวว่าเหล้าองุ่นนี้แทนโลหิตที่หลังออกมาเพื่อยกบาปโทษให้แก่คนทั้งหลาย
รับประทานอาหารนั้น พระเยซูได้ส่งขนมปังให้กับสาวกทั้ง 12 คน พร้อมกับกล่าวว่าขนมปังนี้แทนกายของท่าน จากนั้น พระเยซูได้ส่งเหล้าองุ่นให้กับสาวกและกล่าวว่าเหล้าองุ่นนี้แทนโลหิตที่หลังออกมาเพื่อยกบาปโทษให้แก่คนทั้งหลาย
 
เรื่องราวทั้งหมดนี้จึงเป็นที่มาของ "ศีลมหาสนิท" และการประกอบพิธีกรรมนี้ เรียกว่า " มิสซา" อันเป็นกิจกรรมของชาวคริสต์ เพื่อร่วมสนิทกับพระเจ้าโดยการรับประทาน " พระกาย" และ "พระโลหิต" นี้ คือความหมายของ "มหาสนิท" ซึ่งแนบแน่นเป็นหนึ่งเดียวใน ประชาคมเดียวกันและอยู่ร่วมกันด้วย[[อากาเป|ความรัก]] (Agape) อีกทั้งเป็นการประกาศยอมรับว่าพระเจ้าได้สถิตอยู่ในกายตน
 
ศีลมหาสนิท เป็นศีลที่พระเยซูตั้งขึ้นระหว่างทานเลี้ยงมื้อสุดท้ายกับสาวก พระองค์ตรัสว่า '''เราปรารถนาเป็นอย่างมาก จะเลี้ยงฉลองกับพวกท่านก่อนที่เราจะถูกทรมาน''' แล้วพระองค์หยิบขนมปังขึ้นมาขอบคุณ พระองค์ทรงหักออกแล้วส่งให้บรรดาสาวกพลางตรัสว่า นี่เป็นกายของเรา '''ซึ่งได้อุทิศให้พวกท่าน จงทำอย่างนี้เป็นที่ระลึกถึงเรา''' (ลก.22:14-19)
เส้น 93 ⟶ 92:
 
== ศีลอภัยบาป (Penance) ==
[[ศีลอภัยบาป]] (Penance) หรือศีลสารภาพบาป (Confession) เป็นการคืนดีกับพระและเพื่อนพี่น้อง มีความเสียใจ และตั้งใจที่จะกลับคืนดี เริ่มต้นชีวิตใหม่ในพระหรรษทานของพระเจ้า
 
=== พิธีกรรม ===
เส้น 101 ⟶ 100:
 
=== ความสำคัญ ===
การชดใช้บาปนั้น อาจารย์[[กีรติ บุญเจือ]] (2530 : 97) ได้กล่าวว่า เป็นการเสริมแต่งคุณภาพชีวิตเพื่อให้ชีวิตพระเจ้าพัฒนายิ่งขึ้นตามลำดับทั้งในตนเองและผู้อื่น กิจการชดใช้บาปที่บาทหลวง กำหนดนั้น อาจเป็นการสวดบทบางบท หรือให้ทำดีอะไรบางอย่างตามแต่สะดวกและใจรัก แต่ถ้าเป็นการชดใช้ความเสียหายแก่เพื่อนมนุษย์จะต้องชดใช้ให้อย่างยุติธรรม มิฉะนั้นจะไม่พ้นบาปได้ การชดใช้บาป จึงเป็นการเปิดประตูเข้าสู่ชีวิตใหม่ที่ตนเองจะต้องวางแผนชีวิตโดยอาศัยคำแนะนำจากผู้รู้ เพื่อให้ชีวิตของตนนั้น สามารถพัฒนาก้าวหน้าต่อไปไม่หยุดยั้ง
 
ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินไม่อาจสารภาพบาปเป็นส่วนตัวได้ เช่น คนไข้ พูดไม่ได้ เครื่องบินกำลังตก เรือกำลังล่ม หรือกำลังติดอยู่ในตึกที่ไฟไหม้ บาทหลวงจะอภัยบาปให้ ทันที คนที่อยู่ในสภาพจำเป็นนี้หากมีบาปแม้แต่นิดเดียวก็ได้รับการอภัยบาปทันทีโดยไม่ต้องมีพิธีอะไรเพิ่ม แต่ถ้ารอดชีวิตไปได้และมีโอกาสสารภาพบาปได้เมื่อใด จะต้องสารภาพทันทีกับบาทหลวงรูปใดก็ได้ทั้งนั้น
เส้น 113 ⟶ 112:
 
== ศีลเจิมคนไข้ (Anointing of the Sick) ==
[[ศีลเจิมคนไข้]]เป็นศีลที่โปรดให้สำหรับผู้ป่วยที่อ่อนกำลัง ในสภาพที่น่าเป็นห่วง หรือกำลังจะสิ้นใจ เพื่อเขาจะได้รับพระหรรษทานในยามเจ็บป่วย และเป็นการเตรียมจิตใจให้ยึดมั่นใน
ความเชื่อ และเพื่อการฟื้นฟูสภาพทั้งกายและจิตใจ
 
เส้น 141 ⟶ 140:
ศีลสมรส เป็นศีลที่คู่บ่าวสาวได้แสดงความรักและสมัครใจ ต่อหน้าพระศาสนจักรว่า จะรัก ยกย่องให้เกียรติแก่กันและกัน และใช้ชีวิตร่วมกันฉันสามีภรรยาจนกว่าชีวิตจะหาไม่ โดยไม่ถูกบังคับหรือมีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น
 
ผลของศีลสมรส ทำให้คู่บ่าวสาวเป็นสามีภรรยาอย่างถูกต้องต่อหน้าพระ และต่อพระศาสนจักร อยู่ในชีวิตพระหรรษทาน และเป็นครอบครัวคริสตชนใหม่ที่พร้อมจะให้กำเนิดบุตร อบรมเลี้ยงดูในชีวิตคริสตชน เป็นพยานประกาศความรักของพระในความสมบูรณ์ครบครันของชีวิตครอบครัวของเขาเพื่อช่วยกันและกันในความบกพร่อง หรือที่ขาดไปให้แก่กันและกัน ทั้งนี้คู่บ่าวสาวจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของพระศาสนจักรเพื่อความดีและความรอดของวิญญาน
ในชีวิตคริสตชน เป็นพยานประกาศความรักของพระในความสมบูรณ์ครบครันของชีวิตครอบครัวของเขาเพื่อช่วยกันและกันในความบกพร่อง หรือที่ขาดไปให้แก่กันและกัน ทั้งนี้คู่บ่าวสาวจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของพระศาสนจักรเพื่อความดีและความรอดของวิญญาน
 
=== ประวัติ ===
เส้น 148 ⟶ 146:
 
== ศีลบวชหรือศีลอนุกรม (Ordination) ==
[[ศีลบวชอนุกรม]]คือศีลสำหรับผู้ที่จะสมัครบวชหรือถวายตัวแด่พระเจ้า ถือเป็นพระพรแห่งกระแสเรียกที่พระเจ้าทรงเรียกและเลือกบุคคลหนึ่งให้ดำเนินชีวิต และมีภารกิจในการเป็น[[ศาสนบริกร]] (ordained minister) ผู้แทนของพระคริสต์ ในการประกาศสอนคำสอน การประกอบพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ และการปกครองดูแลคริสตชน
 
=== พิธีกรรม ===
เส้น 162 ⟶ 160:
 
=== ประวัติ ===
พระเยซูทรงเลือกสาวก 12 คนเป็น[[อัครทูต]] เท่ากับจำนวนตระกูลอิสราเอล 12 ตระกูล จึงเท่ากับว่าสาวกทั้ง 12 คนนี้เป็นต้นกำเนิดของ ประชากรใหม่ของพระเจ้าเพื่อช่วยพระเยซูคริสต์ในการประกาศอาณาจักร แต่ก่อนมาในสมัยของพระเยซูคริสต์ยังไม่มีการบวช ถ้าจะเลือกใครเป็นสาวกก็กระทำขึ้นมาโดยไม่มีพิธีรีตองแต่การบวชที่ปรากฏในปัจจุบันนั้นเป็นสิ่งที่เริ่มกันขึ้นมาเองในภายหลังเพื่อความเป็นระบบและเพื่อเป็นเครื่องเตือนย้ำผู้บวชให้ตระหนักในหน้าที่ที่จะต้องนำพาชีวิตจำนวนมากให้ถึงซึ่งความรอด
 
ศีลบวช เป็นศีลที่ศาสนจักรเจิมให้ผู้ที่ได้รับการอบรมมาดีแล้วเป็นบาทหลวง เพื่อรับใช้ศาสนจักรตามที่พระเยซูได้สั่งสอนไว้ "กษัตริย์ในโลกนี้ มีอำนาจเหนือประชากรของเขาแต่พวกท่านต้องไม่เป็นเช่นนั้น ผู้นำตัองรับใช้ปวงชน เหมือนอย่างที่เรามาอยู่ท่ามกลางพวกท่านดังผู้รับใช้" (ลก.22:24-27; เทียบ ยน.13:13-14)