ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้าวทอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch: บีตา-แคโรทีน
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink: จัดรูปแบบ {{ลิงก์เสีย}}
บรรทัด 16:
ต่อมาข้าวทองได้ถูกผสมกับสายพันธุ์ข้าวท้องถิ่นของ[[ฟิลิปปินส์]] [[ไต้หวัน]] และ ข้าว[[อเมริกา]]พันธุ์โคโคไดร์ (Cocodrie)<ref name="lsu2004">LSU AgCenter Communications. [http://www.lsuagcenter.com/news_archive/2004/October/Headline+News/Golden+Rice+Could+Help+Malnutrition.htm ‘red Rice’ Could Help Reduce Malnutrition], 2004</ref>
การทดลองภาคสนามในไร่ของพันธุ์ข้าวทองครั้งแรก ถูกดำเนินการโดยศูนย์การเกษตร มหาวิทยาลัยรัฐหลุยเซียร์น่า (Lousiana State University) ในปี ค.ศ. 2004<ref name="lsu2004"/>
การทดลองภาคสนามจะช่วยให้ผลการประเมินคุณค่าทางอาหารของพันธุ์ข้าวทองได้แม่นยำขึ้น และจากการทดลองในขั้นต้นพบว่าพันธุ์ข้าวทองที่ปลูกจริงในไร่มีปริมาณสารบีตา-แคโรทีนมากกว่าที่ปลูกในเรือนกระจกราวๆ 4 ถึง 5 เท่า<ref name="gr.orgtests">Goldenrice.org [http://www.goldenrice.org/Content2-How/how8_tests.html]{{Dead linkลิงก์เสีย|date=February 2009}}</ref><!-- what is the most recent state of the field tests? -->
 
ปีค.ศ. 2005 ทีมนักวิจัยของบริษัท[[ซินเจนต้า]] (Syngenta) ได้พัฒนาสายพันธุ์ข้าวทองขึ้นมาอีกสายพันธุ์ ชื่อว่า พันธุ์ข้าวทอง 2 (Golden Rice 2) โดยการรวมเอาไฟโตนซินเตสยีนจากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับซีอาร์ทีหนึ่งของพันธุ์ข้าวทองเดิม