ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไลพ์ซิช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kowitzsch (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ไลป์ซิก" → "ไลพ์ซิก" ด้วยสจห.
บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล เมือง
|settlement_type =
|name = ไลป์ซิกไลพ์ซิก
|image_skyline = Coat of arms of Leipzig.svg
|imagesize = 150px
|image_caption = สัญลักษณ์เมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก
|image_map = Karte Leipzig in Deutschland.png
|mapsize = 150px
|map_caption = ไลป์ซิกในไลพ์ซิกใน[[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]]
|subdivision_type = ประเทศ
|subdivision_name = [[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]]
บรรทัด 14:
|subdivision_name1 = [[แซกโซนี|รัฐแซกโซนี]]
|subdivision_type2 = เมือง
|subdivision_name2 = [[ไลป์ซิกไลพ์ซิก]]
|
|population_as_of = ในปี พ.ศ. 2553
|total_type = ไลป์ซิกไลพ์ซิก
|population_total = 522,883
|population_blank1_title = ชาว
|population_blank1 = ไลป์ซิกเกอร์ไลพ์ซิกเกอร์
|timezone = [[Central European Time|CET]]
|utc_offset = +1
บรรทัด 31:
|website = [http://www.leipzig.de/ leipzig.de]
}}
'''ไลป์ซิกไลพ์ซิก''' ({{Lang-de|Leipzig}}; {{Lang-en|Leipzig, Leipsic}}) เป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งใน[[รัฐแซกโซนี]] ใน[[ประเทศเยอรมนี]] มีประชากร 515,110 คน<ref>http://www.statistik.sachsen.de</ref> และเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐ[[แซกโซนี]] และเป็นเมืองที่มีระบบการปกครอง ในรูปแบบเขตปกครองพิเศษ
 
ชื่อ "ไลป์ซิกไลพ์ซิก" มาจากภาษาสลาฟว่า "ลิปสค์" (Lipsk) ซึ่ง แปลว่า ตั้งอยู่บนพื้นที่ ที่มีต้นไม้ดอกเหลือง<ref>Hanswilhelm Haefs. Das 2. Handbuch des nutzlosen Wissens. ISBN 3-8311-3754-4 (ภาษาเยอรมัน) </ref>
 
นอกจากนี้ ไลป์ไลพ์ซิกยังเป็นชื่อของเขตปกครองภายในรัฐแซกโซนี โดยในสหพันธรัฐแซกโซนีประกอบด้วย 3 เขตปกครอง (Landkreise) และ 3 เขตปกครองพิเศษ (Kreisfreie Städte) โดยเขตปกครองไลป์ไลพ์ซิกเป็นเขตปกครองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสหพันธรัฐแซกโซนี เนื้อหาของบทความนี้กล่าวถึงเฉพาะเมืองไลป์ไลพ์ซิกซึ่งเป็นเขตปกครองพิเศษเท่านั้น
 
== ประวัติศาสตร์ ==
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดที่กล่าวถึงเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก ได้แก่ [[จดหมายเหตุ]]ของ[[สังฆราช]]ธีทมาร์ แห่งเมอร์เซบวรก ในปี [[ค.ศ. 1015]] และบันทึกเที่ยวกับเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก โดย[[อ๊อตโตผู้มั่งคั่ง]] ในปี [[ค.ศ. 1165]] เป็นเหตุให้เมืองไลป์ไลพ์ซิกจึงเป็นหนึ่งในบรรดาเมืองประวัติศาสตร์ของ[[เยอรมนี|ประเทศเยอรมนี]] และมีชื่อเสียงในฐานะ ศูนย์กลางทางการค้าของรัฐ[[แซกโซนี]]
 
การจัดตั้ง[[มหาวิทยาลัยไลป์ซิกไลพ์ซิก]]ในปี [[ค.ศ. 1409]] ทำให้ไลป์ไลพ์ซิกพัฒนาขึ้นเป็นเมืองศูนย์กลางทางด้านกฎหมาย และสิ่งพิมพ์ของประเทศ ทั้งยังเป็นที่ตั้งของ[[ศาลศาลปกครอง]]หนึ่งในห้าศาลสูงสุดของประเทศ
 
[[งานแสดงสินค้าไลป์ซิกไลพ์ซิก]] เป็นงานแสดงสินค้าที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงดำเนินกิจการอยู่ โดยเริ่มจัดมาตั้งแต่[[สมัยกลาง]] ในอดีตงานแสดงสินค้าไลป์ซิกไลพ์ซิก ได้รับการคุ้มครองจากเจ้าผู้ครองรัฐที่จะไม่ให้เมืองใดในรัศมี 250 กิโลเมตร จัดงานแสดงสินค้าแข่งกับเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก<ref>กฤตกร คมพัฒนพงศ์ (2550) ทัวร์เอง: เยอรมนี. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์กรีนบุ๊ค</ref> และปัจจุบันงานแสดงสินค้าไลป์ซิกไลพ์ซิก ยังเป็นงานแสดงสินค้าระดับโลกอีกด้วย
 
ปี [[ค.ศ. 1839]] ไลป์ซิกไลพ์ซิก เป็นชุมทางรถไฟระยะทางไกลแห่งแรกของประเทศ[[เยอรมนี]] เพื่อเดินทางไปยังเมือง[[เดรสเดน]] เมืองหลวงของรัฐ[[แซกโซนี]] นับแต่นั้นมา ไลป์ไลพ์ซิกจึงเป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางรถไฟใน[[ยุโรปกลาง]] และสถานีรถไฟไลป์ไลพ์ซิกเป็นสถานีรถไฟที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดใน[[ยุโรป]]ตั้งแต่ยุคนั้น มาจนปัจจุบัน ในช่วงปลายศตวรรษที่ 18 ไลป์ไลพ์ซิกมีประชากรรวมกว่าล้านคน จึงเป็นที่ตั้งของ[[พรรคแรงงาน]] รวมไปถึงมีการจัดตั้ง[[สหภาพแรงงาน]]ขึ้นที่เมืองไลป์ซิกนี้ไลพ์ซิกนี้ ในปี [[ค.ศ. 1863]]
 
ในยุคนโปเลียน ไลป์ไลพ์ซิกเป็นฐานที่มั่นสำคัญของกองทัพ[[นโปเลียน]] โดยนโปเลียนใช้เมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก เป็นศูนย์บัญชาการเพื่อส่งกองกำลังเข้ายึดยุโรปกลาง และรัสเซีย เป็นเหตุให้เมืองไลป์ไลพ์ซิกเป็นสมรภูมิสงครามแห่งชนชาติ [[ยุทธการไลป์ซิกไลพ์ซิก]] เมื่อปี [[ค.ศ. 1913]] กองทัพพันธมิตรกษัตริย์และผู้ครองนครในทวีปยุโรป รวมทัพกันขับไล่กองทัพนโปเลียน โดยกองทัพของนโปเลียนได้แตกพ่ายครั้งแรกที่เมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก ปัจจุบันนี้ยังมี[[อนุสรณ์สถานสงครามแห่งชนชาติ]] เป็นสิ่งรำลึกถึงเหตุการณ์ในครั้งนั้น
 
ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 ไลป์ไลพ์ซิกเสียหายอย่างหนักเนื่องจากการทิ้งระเบิดของฝ่าย[[สัมพันธมิตร]] กองทัพสหรัฐอเมริกาได้ยึดครองไลป์ไลพ์ซิกได้ในวันที่ [[20 เมษายน]] [[ค.ศ. 1945]] และในภายหลังได้ถ่ายอำนาจการปกครองแก่[[กองทัพแดง]]ของ[[สหภาพโซเวียต]]ตามข้อตกลงในการปกครองดินแดน ไลป์ไลพ์ซิกจึงถูกรวมเป็นส่วนหนึ่ง และกลายเป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งของ[[ประเทศเยอรมนีตะวันออก|ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี]] ก่อนจะถูกรวมเข้าเป็น[[เยอรมนี|สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี]] ในปี [[ค.ศ. 1989]]
 
'''สรุปประวัติศาสตร์ที่สำคัญของเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก'''<ref>http://www.leipzig.de/int/en/stadt_leipzig/geschichte/index.aspx?epoche_nr=1</ref>
{| class="wikitable"
|-
บรรทัด 57:
|-
|align="center"| ค.ศ. 1015
| ครั้งแรกที่มีหลักฐานกล่าวอ้างถึงเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก
|-
|align="center"| ค.ศ. 1212
บรรทัด 63:
|-
|align="center"| ค.ศ. 1409
| ก่อตั้งมหาวิทยาลัยไลป์ซิกไลพ์ซิก
|-
|align="center"| ค.ศ. 1481
| มีการพิมพ์หนังสือครั้งแรกในไลป์ซิกไลพ์ซิก
|-
|align="center"| ค.ศ. 1497
| มีการจัดงานแสดงสินค้าครั้งแรกในไลป์ซิกไลพ์ซิก
|-
|align="center"| ค.ศ. 1555
บรรทัด 75:
|-
|align="center"| ค.ศ. 1650
| หนังสือพิมพ์รายวันฉบับแรกของโลก ถือกำเนิดขึ้นที่เมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก
|-
|align="center"| ค.ศ. 1813
| สงครามแห่งชนชาติ กองทัพนโปเลียนซึ่งตั้งฐานที่มั่นที่เมืองไลป์ไลพ์ซิกพ่ายแพ้อย่างย่อยยับครั้งแรก
|-
|align="center"| ค.ศ. 1839
| เปิดบริการรถไฟทางไกลสายแรกในเยอรมนี เส้นทางไลป์ซิกไลพ์ซิก - เดรสเดน
|-
|align="center"| ค.ศ. 1878
| สวนสัตว์ไลป์ซิกไลพ์ซิก เปิดบริการครั้งแรก
|-
|align="center"| ค.ศ. 1895
| เปิดทำการศาลอุทธรณ์ในเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก
|-
|align="center"| ค.ศ. 1899
บรรทัด 93:
|-
|align="center"| ค.ศ. 1911
| เปิดบริการสนามบินไลป์ซิกไลพ์ซิก
|-
|align="center"| ค.ศ. 1912
| เปิดบริการหอสมุดประชาชน ประจำชาติเยอรมนี ในเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก
|-
|align="center"| ค.ศ. 1913
บรรทัด 102:
|-
|align="center"| ค.ศ. 1989
| ชาวเมืองไลป์ไลพ์ซิกร่วมเดินขบวนประท้วงการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ เป็นจุดเริ่มต้นของการรวมประเทศ
|-
|align="center"| ค.ศ. 2005
| เมืองไลป์ไลพ์ซิกร่วมเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก
|-
|align="center"| ค.ศ. 2009
| มหาวิทยาลัยไลป์ซิกไลพ์ซิก อายุครบ 600 ปี
|}
 
[[ไฟล์:CityHochhausLeipzig.JPG|thumb|200px|ตัวเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก ภาพมุมสูง]]
[[ไฟล์:Federal Administrative Court Leipzig at night 1 (aka).jpg|thumb|200px|ศาลอุทธรณ์สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี]]
[[ไฟล์:Leipziz-neu-rathaus-2008.jpg|thumb|200px|ศาลาว่าการเมืองไลป์ไลพ์ซิกหลังปัจจุบัน]]
[[ไฟล์:Thomus Church Leipzig.JPG|thumb|right|200px|โบสถ์นักบุญโธมัส]]
[[ไฟล์:Inside nikolas church leipzig.JPG|thumb|right|200px|ภายในโบสถ์นักบุญนิโคลัส]]
[[ไฟล์:Russian church in leipzig.JPG|thumb|right|200px|คริสตจักรในนิกายรัสเซียนออร์โธดอกซ์]]
[[ไฟล์:Inside main station leipzig.JPG|thumb|right|200px|ในสถานีรถไฟไลป์ซิกไลพ์ซิก]]
[[ไฟล์:Leipzig Neue Messe.jpg|thumb|right|200px|ศูนย์แสดงสินค้า]]
[[ไฟล์:Porsche Diamond.jpg|thumb|200px|โชว์รูมรถยนต์ ปอเช]]
บรรทัด 127:
=== ภูมิประเทศ ===
 
ไลป์ซิกไลพ์ซิก ตั้งอยู่ทางตะวันตกของสหพันธรัฐแซกโซนี ห่างจากกรุงเบอร์ลินมาทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 145 กิโลเมตร ตัวเมืองตั้งริมฝั่งแม่น้ำไวเซ่เอลส์เตอร์ (Weisse Elster) ณ จุดที่ แม่น้ำไพลเซ่ Pleisse และแม่น้ำพาร์เธ่ (Parthe) มารวมตัวกัน<ref>http://www.answers.com/topic/leipzig</ref>
 
=== ภูมิอากาศ ===
 
อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี แยกตามรายเดือนของไลป์ซิกไลพ์ซิก
 
{| class="wikitable"
บรรทัด 191:
 
* '''ยุคก่อน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]'''
[[เศรษฐกิจ]]หลักของเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก ได้จากการเป็นศูนย์กลางการจัดแสดงสินค้านานาชาติใน[[ยุโรปกลาง]] ตั้งแต่ในยุคที่เป็นจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เนื่องจากได้รับการคุ้มครองสิทธิในการเป็นศูนย์กลางทางการค้าแห่งเดียวในบริเวณยุโรปตะวันออก นอกจากนี้ ไลป์ไลพ์ซิกยังเป็นศูนย์กลางด้านการพิมพ์ของประเทศ ในอดีตงานสัปดาห์หนังสือที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเยอรมันจัดขึ้นที่เมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก ยิ่งไปกว่านั้นที่นี่ยังเป็นที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมทอผ้าที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปตั้งอยู่ด้วย และยังรวมไปถึงเครื่องจักรอุตสาหกรรม และอุตสาหกรรมประกอบ[[เปียโน]] อุตสาหกรรมโดยส่วนใหญ่ได้ย้ายการประกอบกิจการไปยังเยอรมันตะวันตกตั้งแต่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
 
* '''ยุค[[ประเทศเยอรมนีตะวันออก]]'''
ในช่วงที่ประเทศปกครองด้วยระบบ[[คอมมิวนิสต์]] ไลป์ไลพ์ซิกก็คงเป็นศูนย์กลางสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยในปี [[ค.ศ. 1972]] เมืองไลป์ไลพ์ซิกมีมูลค่าทางเศรษฐกิจในสัดส่วนถึง 9.3% ของระบบเศรษฐกิจทั้งประเทศ โดยในช่วงนั้น อุสาหกรรมหนัก เช่น เหมืองถ่านหิน โรงงานผลิตไฟฟ้า และโรงงานผลิตสารเคมีต่าง ๆ ได้เปิดดำเนินการ และขยายตัวไปทางตอนใต้ของเมือง นอกจากนี้ ยังมีโรงงานผลิตเครื่องจักร และเทคโนโลยีสำหรับการเกษตรอีกด้วย
 
* '''ปัจจุบัน'''
จำนวนประชากรที่มีงานทำ ณ ปี [[ค.ศ. 2010]] ทั้งสิ้น 243,50 คน<ref>http://www.leipzig.de/imperia/md/content/12_statistik-und-wahlen/lz_fb_en.pdf/</ref> [[อัตราการว่างงาน]] ณ วันที่ [[31 มีนาคม]] [[ค.ศ. 2010]] อยู่ที่ร้อยละ 14.70 ต่อประชากรทั้งหมดของเมือง<ref>http://www.leipzig.de/de/business/wistandort/zahlen/arbeitsmarkt/arbeitslose/index.aspx</ref>โดยกว่าครึ่งเป็นการว่างงานระยะยาว จำนวนธุรกิจที่จดทะเบียน สิ้นปี ค.ศ. 2010 รวมทั้งสิ้น 45,278 บริษัท<ref>http://www.leipzig.de/imperia/md/content/12_statistik-und-wahlen/lz_fb_en.pdf/</ref>ในปี ค.ศ. 2007 รายได้เฉลี่ยต่อคนของพนักงานในไลป์ไลพ์ซิกอยู่ที่ 37,117 ยูโรต่อคนต่อปี<ref>http://www.leipzig.de/de/business/wistandort/zahlen/wirtschaft/verarb/index.aspx</ref> ในปี ค.ศ. 2008 มีการจัดงานแสดงสินค้า ณ เมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก รวมทั้งสิ้น 40 ครั้ง มีบริษัท ห้างร้าน เข้าร่วม 15,473 บริษัท มีผู้เข้าชมงานทั้งสิ้น 1,308,288 คน<ref>http://www.leipzig.de/de/business/wistandort/zahlen/wirtschaft/index.aspx</ref>
 
== สถานที่ท่องเที่ยว ==
บรรทัด 203:
=== ศาสนสถาน ===
 
# '''[[โบสถ์นักบุญโทมัส]]'''<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/St._Thomas_Church,_Leipzig</ref> โบสถ์ที่ [[โยฮันน์ เซบาสเทียน บาค]] ทำงานดนตรี ได้แก่ การประพันธ์เพลง การควบคุมวงดนตรี การสอนคณะนักเรียนประสานเสียง ขณะที่ใช้ชีวิตในไลป์ซิกไลพ์ซิก ปัจจุบันได้รับการขนานนามว่า เป็น โบสถ์ของบาค นักท่องเที่ยวจำนวนมากมาเยี่ยมเยียนไลป์ซิกไลพ์ซิก เพื่อซึมซับบรรยากาศการใช้ชีวิตของนักประพันธ์ท่านนี้ ทุกวันพุธ และวันเสาร์ ที่โบสถ์นี้จะจัดแสดงดนตรีจากบทประพันธ์ของ[[โยฮันน์ เซบาสเทียน บาค]]โดยนักดนตรีมืออาชีพ
# '''โบสถ์นักบุญนิโคลัส''' นอกจากเป็นโบสถ์ที่ [[โยฮันน์ เซบาสเทียน บาค]]มักจะนำเอาผลงานการประพันธ์ทุกชิ้นออกแสดงเป็นครั้งแรกแล้ว ยังเป็นโบสถ์ที่มีความสำคัญ เนื่องจากในช่วงที่ไลป์ซิกไลพ์ซิก อยู่ภายใต้ประเทศเยอรมนีตะวันออก โบสถ์แห่งนี้เป็นศูนย์รวมของชาวเมืองที่ร่วมจัดอธิษฐานเพื่อสันติภาพ ให้หลุดพ้นจากการปกครองในระบบคอมมิวนิสต์ โดยเริ่มครั้งแรกในปี [[ค.ศ. 1980]] โดยเป็นการอธิษฐานต่อเนื่อง 10 วัน ในช่วงเดือนพฤศจิกายน และจัดต่อเนื่องกันทุกปี จนกระทั่งช่วงเย็นของวันที่ [[9 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1989]] หลังงานฉลองครบรอบ 40 ปี[[ประเทศเยอรมนีตะวันออก]] เพียง 2 วัน ชาวเมืองได้ร่วมกันเดินขบวนเพื่อมาร่วมอธิษฐานที่โบสถ์แห่งนี้ จนเกิดเป็นคลื่นมหาชนที่มารวมตัวกัน เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดลงนามการรวมประเทศเยอรมนีในวันรุ่งขึ้น
# '''โบสถ์นักบุญเปาโล''' หรือ คริสตจักรแห่งมหาวิทยาลัย เริ่มสร้างในปี ค.ศ. 1231 และถูกมอบให้เป็นคริสตจักรประจำ[[มหาวิทยาลัยไลป์ซิกไลพ์ซิก]] ตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1409]] เมื่อมีการก่อตั้งมหาวิทยาลัย จนกระทั่งในปี [[ค.ศ. 1961]] ในยุค[[ประเทศเยอรมนีตะวันออก|เยอรมันตะวันออก]] ผู้นำระบอบ[[คอมมิวนิสต์]] และผู้บริหารมหาวิทยาลัยในสมัยนั้นได้ทุบโบสถ์นี้ทิ้ง เนื่องจากไม่ต้องการให้มีสัญลักษณ์ของศาสนาในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย ปัจจุบันมหาวิทยาลัยไลป์ไลพ์ซิกได้ทำการก่อสร้างอาคารคริสตจักรขึ้นใหม่ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง 600 ปีการก่อตั้งมหาวิทยาลัย และคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี [[ค.ศ. 2010]]<ref>http://de.wikipedia.org/wiki/Paulinerkirche_(Leipzig)</ref> โดยอาคารที่สร้างขึ้นใหม่นี้ มีวัตถุประสงค์เพียงเพื่อรำลึกถึงอาคารโบสถ์นักบุญเปาโลเท่านั้น มิได้มีเจตนาที่จะให้เป็นอาคารสำหรับประกอบพิธีทางศาสนา เนื่องจากจำนวนประชากรในไลป์ไลพ์ซิกที่นับถือศาสนานั้นมีจำนวนน้อยมาก ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยไลป์ซิกไลพ์ซิก รวมกับเมืองไลป์ไลพ์ซิกได้ออกแบบอาคารนี้เพื่อเป็นศูนย์ประชุมและอาคารเรียนสำหรับใช้ในกิจการของมหาวิทยาลัยเป็นสำคัญ
# '''โบสถ์รัสเซีย''' หรือโบสถ์นักบุญอเล็กซี่ เป็นโบสถ์นิยายออร์โธดอกซ์ สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1913 เพื่อเป็นที่ระลึกครบรอบ 100 ปี สงครามแห่งชนชาติ ณ เมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก ที่กองทัพรัสเซียเข้าร่วมกับกองทัพกษัตริย์นานาชาติในยุโรปร่วมกันเอาชนะนโปเลียนได้เป็นครั้งแรก เป็นโบสถ์ที่รัฐบาลรัสเซียสร้างให้แก่เมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก ณ บริเวณที่มีการทำสงครามเกิดขึ้นจริงในปี ค.ศ. 1813 และเนื่องด้วยค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างโบสถ์แห่งนี้ มีมูลค่าสูงกว่าหนึ่งล้านมาร์กเยอรมัน (ณ ขณะนั้น) คณะผู้ปกครองเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก จึงยกที่ดินของโบสถ์แห่งนี้ให้เป็นของรัฐบาลรัสเซีย<ref>http://www.leipzig.de/int/en/tourist/stadtspaz/fotorund/02424.shtml</ref> ปัจจุบันด้านบนของโบสถ์จัดเป็นพิพิธภัณฑ์ ในขณะที่อาคารด้านล่าง ยังคงใช้เป็นสถานนมัสการสำหรับนิกายรัสเซียนออร์โธดอกซ์
 
=== อนุสรณ์สถาน ===
 
# '''อนุสรณ์สถานสงครามแห่งชนชาติ'''<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/V%C3%B6lkerschlachtdenkmal</ref> อนุสรณ์สถานที่รำลึกถึงชัยชนะของกองทัพพันธมิตร ที่มีต่อกองทัพนโปเลียนครั้งแรกในยุโรป<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/Battle_of_the_Nations</ref> นอกจากเป็นที่ระลึกต่อเหตุการณ์ครั้งนั้นแล้ว ด้านบนหอคอยของอนุสรณ์สถานแห่งนี้ ยังเป็นจุดชมทัศนียภาพของเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก เป็นอย่างดีอีกด้วย
# บ้านพักของบุคคลสำคัญ เนื่องจากไลป์ไลพ์ซิกเป็นที่พำนักของศิลปิน นักประพันธ์ที่มีชื่อเสียงหลายท่าน จึงได้นำบ้านพักของท่านเหล่านั้นในสมัยที่ดำรงชีวิตอยู่ในไลป์ไลพ์ซิกจัดแสดงเพื่อเป็นการรำลึกถึง บ้านพักของบุคคลสำคัญที่ได้รับความนิยมในการเข้าเยี่ยมชม ได้แก่ บ้านพักของชิลเลอร์ นักประพันธ์เพลง บ้านพักของ[[เฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น|เมนเดลโซห์น]] นักอำนวยเพลง<ref>http://www.mendelssohn-stiftung.de/</ref> บ้านพักและที่ทำงานของ[[โยฮันน์ เซบาสเทียน บาค|บาค]]<ref>http://www.bach-leipzig.de/</ref> บ้านพักของ[[โรเบิร์ต ชูมานน์]] <ref>http://www.schumann-verein.de/</ref>เป็นต้น
 
=== สถาปัตยกรรม ===
 
# '''สถานีรถไฟไลป์ซิกไลพ์ซิก''' เป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางรถไฟในยุโรปกลางตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 สถานีรถไฟแห่งนี้ ถูกสร้างในปี [[ค.ศ. 1915]] เดิมแบ่งเป็นสองส่วนแยกจากกัน โดยสถานีฝั่งตะวันออกเป็นส่วนบริหารของสหพันธรัฐแซกโซนี สถานีฝั่งตะวันตกเป็นส่วนบริหารของสหพันธรัฐปรัสเซีย<ref>http://www.travelicio.us/f/Europe/3625006146/Leipzig_Main_Railway_Station_Concourse/</ref>(สาธารณรัฐเชค และประเทศโปแลนด์ในปัจจุบัน) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998 ได้ทำการบูรณะสถานีรถไฟนี้ใหม่ ได้เชื่อมต่อทั้งสองส่วนเข้าด้วยกัน ส่งผลให้สถานีรถไฟไลป์ไลพ์ซิกประกอบด้วย 26 ชานชลา มีพื้นที่รวมกว่า 83,460 ตารางเมตร และศูนย์การค้าขนาดใหญ่ในตัวสถานี สถานีรถไฟแห่งนี้ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/Leipzig_Hauptbahnhof</ref>
# '''ศาลาว่าการเมืองไลป์ไลพ์ซิกหลังเก่า''' อาคารศาลาว่าการเมืองนี้สร้างขึ้นในปี [[ค.ศ. 1556]] และเป็นอาคารยุคเรเนซองหลังใหญ่ที่สุดที่ยังหลงเหลืออยู่ใน[[เยอรมนี]]ในปัจจุบันนี้ เป็นอาคารที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางเมือง มีความยาวกว่า 90 เมตร ประกอบด้วยหอคอย และตัวอาคารสองหลังเชื่อมต่อกันบริเวณชั้นสองซึ่งเป็นห้องโถงใหญ่สำหรับผู้ว่าการเมือง ออกปฏิบัติราชการและพิพากษาคดี ปัจจุบันศาลาว่าการเมืองหลังนี้ เปิดเป็น[[พิพิธภัณฑ์]] สำหรับนักท่องเที่ยวเข้าชม โดยจัดแสดงการตกแต่งภายในที่ยังคงสภาพใกล้เคียงรูปแบบเดิม ซึ่งตกแต่งด้วยชิ้นไม้ขนาดใหญ่ และภาพเขียนเจ้าเมือง หรือ นายกเทศมนตรีของเมืองตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ซึ่งเป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ที่นักท่องเที่ยวควรหาเวลาเข้าชมเป็นอย่างยิ่ง ส่วนบริเวณชั้นล่าง แบ่งเป็นพื้นที่ให้เช่าสำหรับร้านค้าขายของที่ระลึก ซึ่งรวมไปถึงผลิตภัณฑ์เซรามิก [[ไมเซน]] ที่มีชื่อเสียง และเก่าแก่ที่สุดของเยอรมนี รวมอยู่ด้วย
# '''ศาลาว่าการเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก'''หลังปัจจุบัน ศาลาว่าการเมืองหลังปัจจุบันถูกสร้างขึ้นใหม่ ในปี [[ค.ศ. 1899]] บนพื้นที่ซึ่งเป็นปราสาทเก่าของเมือง ได้แก่ ปราสาทไพรซ์เซน โดยพยายายมคงสถาปัตยกรรมเดิมของตัวปราสาทไว้ แต่ปรับโครงสร้างภายในอาคาร เพื่อเป็นสำนักงานของเมือง รวมถึงห้องประชุมสำหรับสภาเมืองด้วย
# '''ศาลอุทธรณ์'''<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/Federal_Administrative_Court_of_Germany</ref> ที่ไลป์ซิกไลพ์ซิก เป็นที่ตั้งของศาลอุทธรณ์แห่งสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี
# '''[[เกวานเฮ้าส์]]'''<ref>http://www.gewandhaus.de</ref> เป็นสถานที่จัดแสดงคอนเสิร์ต[[ออเคสตร้า]] และดนตรีคลาสสิก และเป็นสถานที่จัดแสดงหลักของวงดนตรีออเคสตร้าที่มีชื่อเสียงในยุโรปด้วย สิ่งที่น่าสนใจในเกวานเฮาส์ นอกจากงานแสดงดนตรีในรูปแบบต่าง ในอัตราค่าเข้าชมที่ไม่สูงมากนักแล้ว ภายในอาคารแห่งนี้ตกแต่งด้วยภาพวาดศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับการแสดงดนตรี อาคารเกวานเฮาส์หลังปัจจุบันนี้ ถูกสร้างขึ้นใหม่ในช่วงที่เมืองไลป์ไลพ์ซิกอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศเยอรมนีตะวันออก เพื่อทดแทนของเก่าที่เสียหายไปในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง รูปทรงสถาปัตยกรรมของตัวอาคารจึงมีรูปลักษณ์ที่แตกต่างไปจากอาคารโดยรอบ โดยในช่วงเวลานั้น ลานบริเวณด้านหน้าเกวานด์เฮาส์ ถูกเปลี่ยนชื่อ เป็นจตุรัสคาร์ล มาร์กซ์ และมีการจัดทำอนุสวรีย์ประชาชน ไว้บริเวณดังกล่าว ภายหลังการรวมประเทศ ลานดังกล่าวได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อ จตุรัสเอากุสตุส ดังในอดีต และ[[มหาวิทยาลัยไลป์ซิกไลพ์ซิก]] ได้ย้ายอนุสวรีย์ดังกล่าวออกจากจตุรัสนี้ ไปตั้งไว้ยังคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา แทน
# '''เอาเออร์บาค เคลเลอร์'''<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/Auerbachs_Keller</ref> เป็นภัตตาคาร ตั้งอยู่บริเวณชั้นใต้ดินของอาคารศูนย์การค้า ซึ่งเป็นอาคารที่เปิดใช้ครั้งแรกในปี [[ค.ศ. 1525]] ภัตตาคารนี้เป็นหนึ่งในร้านอาหารที่เปิดบริการมายาวนานกว่า 600 ปี และเป็นร้านอาหารที่ [[โยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเธอ|เกอเธอ]]มักจะเข้ามาใช้บริการเป็นประจำ นอกจากนี้ในภัตตาคารนี้ตกแต่งโดยภาพเขียนจากอุปรากรชื่อดังของนักเขียนท่านนี้ เรื่อง Faust อีกด้วย โดยภัตตาคารแบ่งออกเป็นสองส่วน ได้แก่ส่วนที่ราคาแพง (ราคาอาหารประมาณรายการละ 15 - 20 ยูโร) และส่วนที่ราคาแพงมาก(ราคาอาหารแต่ละรายการไม่ต่ำกว่า 30 ยูโร) โดยในปัจจุบันมีการจัดแสดงละครเวทีเรื่องดังกล่าวในภัตตาคารแห่งนี้ จุดเด่นอีกอย่างของภัตตาคารนี้ ได้แก่บริเวณหน้าบันไดทางลง มีปฏิมากรรมทองเหลือง จากบทประพันธ์เรื่องเดียวกันนี้จัดแสดงอยู่และเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวมันแวะมาลูบคลำรูปปั้นดังกล่าวในบริเวณรองเท้า ด้วยความเชื่อว่าจะนำความโชคดีมาให้
 
บรรทัด 226:
* '''พิพิธภัณฑ์กราสซี''' (Grassi Museum) พิพิธภัณฑ์ที่ตั้งชื่อตามเจ้าของสถานที่ ซึ่งบริจาคอาคารเพื่อให้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ในอาคารพิพิธภัณฑ์นี้ จัดแบ่งออกเป็นหลายส่วน โดยแบ่งออกเป็น
** ''พิพิธภัณฑ์ศิลปประยุกต์'' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]:The GRASSI Museum of Applied Art of Leipzig หรือ [[ภาษาเยอรมัน|เยอรมัน]]:Kunstgewerbemuseum Leipzig) เปิดให้เข้าชมได้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1874 และเป็นพิพิธภัณฑ์[[ศิลปประยุกต์]]ที่เก่าแก่เป็นอันดับสองในประเทศ[[เยอรมนี]]<ref>http://www.grassimuseum.de/info_en.html</ref> ภายในพิพิธภัณฑ์จัดแสดงผลงานศิลปร่วมสมัยจากนานาชาติ และรวมไปถึงพื้นที่จัดแสดงที่นำผลงานศิลปประยุกต์จากพิพิธภัณฑ์อื่น ๆ หมุนเวียนมาจัดแสดงร่วมอีกด้วย
** ''พิพิธภัณฑ์เครื่องดนตรี'' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]:the Museum of Musical Instruments หรือ [[ภาษาเยอรมัน|เยอรมัน]]:Museum für Musikinstrumente der Universität Leipzig) พิพิธภัณฑ์เครื่องดนตรี เปิดแสดงครั้งแรกในปี [[ค.ศ. 1886]] ซึ่งดำเนินการโดยเอกชน ต่อมาในปี ค.ศ. 1905 เจ้าของเดิมพยายามขายพิพิธภัณฑ์นี้ให้แก่เมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก แต่การเจรจาไม่สำเร็จ จึงขายให้แก่ [[วิลเฮ็ลม เฮเยอร์]] (Wilhelm Heyer) ต่อมาภายหลังวิลเฮ็ลม เฮเยอร์ เสียชีวิต บุตรหลานของเขาจึงได้จำหน่ายพิพิธภัณฑ์นี้ให้แก่[[มหาวิทยาลัยไลป์ซิกไลพ์ซิก]] ในปี ค.ศ. 1926 โดยในครั้งนั้นได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสหพันธรัฐ[[แซกโซนี]] และคหบดีของเมือง แต่ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] พิพิธภัณฑ์ได้รับความเสียหายอย่างหนัก ของสะสมจำนวนมากทรุดโทรม และถูกขโมยไป จนกระทั่งในปี [[ค.ศ. 1950]] จึงได้มีการบูรณะอาคารพิพิธภัณฑ์ และรวบรวมของสะสมต่าง ๆ เพื่อเปิดดำเนินการพิพิธภัณฑ์อีกครั้ง<ref>http://mfm.uni-leipzig.de/_eng/WelcomeHome.php?navid=1</ref> ภายในพิพิธภัณฑ์แสดงเครื่องดนตรีของนักดนตรีชื่อดังของเมืองหลายท่าน และยังได้ยจัดแสดงองค์ประกอบของเครื่องดนตรีชนิดต่าง ๆ อีกด้วย
** ''พิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยา'' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]:the Museum of Ethnographischen of Leipzig หรือ [[ภาษาเยอรมัน|เยอรมัน]]:Museum für Völkerkunde zu Leipzig) เริ่มดำเนินการในปี [[ค.ศ. 1869]] โดยรับซื้อของสะสมจำพวกเสื้อผ้า และเครื่องประดับจากนักสะสม เพื่อนำมาจัดแสดงเป็นพิพิธภัณฑ์ หลังจากของสะสมกว่าหนึ่งในห้าถูกทำลายไปในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ก็เปิดให้ประชาชนได้เข้าชมได้อีกครั้งในปี [[ค.ศ. 2005]] ณ พิพิธภัณฑ์กราสซี<ref>http://www.mvl-grassimuseum.de/site.php?g=start&css=fc&lang=en&zoom=0</ref> ในพิพิธภัณฑ์ส่วนนี้ จัดแสดงศิลปวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ ทั่วโลก ผ่านเสื้อผ้า เครื่องประดับ การใช้ชีวิต ความเป็นอยู่ และผลงานทางศิลปะ ที่แตกต่างกันของแต่ละชนชาติ เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ใช้เนื้อที่มากที่สุดในพิพิธภัณฑ์กราสซีแห่งนี้
 
บรรทัด 234:
 
# [[ทะเลสาบคอสปูเดเนอร์]] ทะเลสาบนี้ถูกสร้างขึ้นมา เพื่อเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวเมืองในฤดูใบไม้ผลิ และฤดูร้อน
# [[สวนสัตว์ไลป์ซิกไลพ์ซิก]] เป็นสวนสัตว์ขนาดใหญ่ในสหพันธรัฐแซกโซนี จัดแสดงสัตว์จากทั่วทุกมุมโลก โดยมีการจัดแบ่งพื้นที่การแสดงตามภูมิภาค และประเภทของสัตว์ป่า ได้แก่ แอฟริกา เอเซีย อเมริกาใต้ ส่วนจัดแสดงพันธุ์ไม้ ส่วนจัดแสดงลิงนานาพันธุ์ และส่วนจัดแสดงสัตว์เลื้อยคลาน<ref>http://www.zoo-leipzig.de</ref> สวนสัตว์ไลป์ซิกไลพ์ซิก เปิดดำเนินการโดยเอกชนตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1878]] และเมืองไลป์ไลพ์ซิกได้รับโอนเป็นของเมือง [[ค.ศ. 1920]]<ref>http://www.britannica.com/EBchecked/topic/335493/Leipzig-Zoological-Garden</ref> ปัจจุบันมีพื้นที่กว่า 225,000 ตารางเมตร มีสัตว์ป่ากว่าห้าพันตัว มากกว่า 600 สายพันธุ์ และได้รับการบันทึกว่าเป็นสวนสัตว์ที่มีสัตว์ผู้ล่ามากที่สุดแห่งหนึ่งในระดับโลก<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/Leipzig_Zoological_Garden</ref>
# มอริทซ์บาสไท (Moritzbastei) เป็นส่วนหนึ่งของกำแพงเมืองเก่า และภายในเป็นสถานที่คุมขังนักโทษ ปัจจุบันได้ปรับปรุงเป็นสถานบันเทิงสำหรับนักศึกษา
# ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติไลป์ซิกไลพ์ซิก ไลป์ไลพ์ซิกเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญมาเป็นเวลานาน และเป็นเคยเป็นศูนย์กลางสื่อสิ่งพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดในเยอรมนีก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานชาติไลป์ซิกไลพ์ซิก จึงมีการจัดแสดงสินค้าที่สำคัญหลายงานด้วยกัน โดยงานแสดงสินค้าที่มีชื่อเสียง ได้แก่ งานแสดงหนังสือ ซึ่งถือว่าเป็นงานแสดงหนังสือที่เก่าแก่ที่สุดของเยอรมนีที่ยังคงดำเนินการจนถึงปัจจุบัน งานแสดงรถยนต์นานาชาติ (AMI และ AMITEC) และงานแสดงเกม (Game Convention) เป็นต้น
 
== สิ่งที่น่าสนใจ ==
บรรทัด 242:
=== กีฬา ===
 
[[สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งชาติเยอรมนี]] (DFB) จัดตั้งขึ้นครั้งแรกที่เมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก ในปี [[ค.ศ. 1900]]<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/DFB</ref> และสโมสรฟุตบอลอาชีพของเมือง ได้แก่ สโมสรเอสเทิร์นเอฟซี (1.FC)ได้ครองถ้วยรางวัลในฐานะทีมอันดับหนึ่งของฟุตบอลอาชีพประจำชาติ ในปี [[ค.ศ. 1903]]
 
ไลป์ไลพ์ซิกเป็นเมืองหนึ่งที่ร่วมจัดการแข่งขัน[[ฟุตบอลโลก 2006]] และได้ตั้งเป้าหมายร่วมเป็นเจ้าภาพการแข่งขัน[[โอลิมปิกฤดูร้อน 2012]] แต่ไม่ได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการโอลิมปิคสากล
 
=== ศิลปะ ===
 
* ออเคสตร้า
ไลป์ซิกไลพ์ซิก เป็นเมืองที่มีรากฐานทางดนตรี เนื่องจากมีนักประพันธ์เพลง ผู้ควบคุมวงออเคสตร้า นักดนตรีที่มีชื่อเสียง ได้สร้างสรรค์ผลงานในช่วงเวลาที่ได้ทำงานอยู่ที่เมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก อาทิ [[โยฮันน์ เซบาสเทียน บาค]] นักประพันธ์เพลง ซึ่งแต่งเพลงจำนวนมาก ในขณะที่ทำงานอยู่ในโบสถ์นักบุญโทมัส ระหว่างปี ค.ศ. 1723 - ค.ศ. 1750 นออกจากนี้ ยังมี [[ริชาร์ด วากเนอร์]] [[โรเบิร์ต ชูมานน์]] และ [[เฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น]] อีกด้วย
 
นอกเหนือไปกว่านั้น ในปัจจุบัน ไลป์ซิกไลพ์ซิก เป็นที่ตั้งของ มหาวิทยาลัยการดนตรีและการละคร ซึ่งมีการเรียนการสอนเพื่อผลิตศิลปิน และบุคลากรเพื่อเป็นผู้สอนศิปะ ทั้งการแสดง และการดนตรีในทุกแขนง นักศึกษาที่มีผลงานเป็นที่โดดเด่น จะได้เข้าร่วมการแสดงกับ '''วงออเคสต้าไลป์ซิกเกวานด์เฮ้าส์ต้าไลพ์ซิกเกวานด์เฮ้าส์''' วงดนตรีออเคสต้าประจำเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก ซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับไปทั่วทั้งยุโรป ปัจจุบันมหาวิทยาลัยการดนตรีและการละคร มีนักศึกษาเข้าใหม่เฉลี่ยกว่าปีละ 800 คน
 
* คณะนักร้องประสานเสียง
บรรทัด 257:
 
* อุปรากร
โรงละครเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก จัดได้ว่าเป็นโรงละครที่มีการจัดแสดงมากว่า 300 ปี ซึ่งถือว่าเป็นโรงละครที่มีการจัดแสดงมายาวนานที่สุดในยุโรป
 
* ภาพยนตร์
นอกจากด้านดนตรี และการแสดงแล้ว ไลป์ไลพ์ซิกยังเป็นศูนย์กลางการจัดประกวดภาพยนตร์สารคดีนานาชาติ (DOK Leipzig) มาแล้วกว่า 55 ครั้ง
 
== บุคคลสำคัญ ==
บุคคลสำคัญที่มีชื่อเสียงของเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก มีหลายท่านด้วยกัน อาทิ
 
# [[กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ]] ([[ค.ศ. 1646]] - [[ค.ศ. 1716]]) ปรัชญาเมธี และนักคณิตศาสตร์คนสำคัญ เป็นชาวเมืองไลป์ไลพ์ซิกโดยกำเนิด และเข้าศึกษาใน[[มหาวิทยาลัยไลป์ซิกไลพ์ซิก]] ระหว่างปี [[ค.ศ. 1661]] - [[ค.ศ. 1666]]
# [[โยฮันน์ เซบาสเทียน บาค]] คีดกวีที่ทำงานในไลป์ซิกช่วงไลพ์ซิกช่วง [[ค.ศ. 1723]]-[[ค.ศ. 1750]]
# [[โยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเธอ]] ([[ค.ศ. 1749]] - [[ค.ศ.1832]]) นักประพันธ์ นักวิจารณ์ ปรัชญาเมธีผู้โด่งดังของเยอรมนี สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยไลป์ซิกไลพ์ซิก ก่อนจะกลับไปใช้ชีวิตการทำงานที่เมืองไวมาร์
# [[เฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น]] ([[ค.ศ. 1809]] - [[ค.ศ. 1847]]) ผู้อำนวนเพลงที่มีชื่อเสียงท่านนี้ ได้เริ่มแสดงผลงานทางดนตรี ที่เมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก ตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1935]] และเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนทางดนตรีขึ้นในเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก เมื่อปี [[ค.ศ. 1843]] ซึ่งปัจจุบันโรงเรียนดนตรีดังกล่าวเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยการดนตรี และการละคร
# [[ริชาร์ด วากเนอร์]] คีตกวีที่เกิดในไลป์ซิกเมื่อไลพ์ซิกเมื่อ [[ค.ศ. 1813]] แม้จะไปใช้ชีวิตวัยเด็กในเดรสเดน แต่ก็กลับมาศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยไลป์ซิกไลพ์ซิก ก่อนจะผันตัวเองไปเป็นนักประพันธ์เพลง และอุปรากรในช่วงที่เหลือของชีวิต
# คาร์ล ฟรีดริช เกอเดเลอร์<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/Carl_Friedrich_Goerdeler</ref> ([[ค.ศ. 1884]] – [[ค.ศ. 1945]]) นายกเทศมนตรีเมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก ตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1930]] ได้รับการยอมรับว่า เป็นนักต่อต้าน[[นาซี]]ตัวยง
# [[อังเงลา แมร์เคิล]] นายกรัฐมนตรีหญิงของเยอรมันคนแรก และคนปัจจุบัน เป็นศิษย์เก่า คณะฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยไลป์ซิกไลพ์ซิก ระหว่างปี [[ค.ศ. 1973]] - [[ค.ศ. 1978]]
 
== เมืองคู่แฝด ==
ไลป์ซิกไลพ์ซิก ทำสัญญาเป็นเมืองคู่แฝด กับเมืองต่าง ๆ ทั่วโลกดังนี้:
* {{flagicon|Ethiopia}} [[แอดดิสอาบาบา]], ประเทศ[[เอธิโอเปีย]] ตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 2004]]
* {{flagicon|United Kingdom}} [[เบอร์มิงแฮม]], ประเทศ[[อังกฤษ]] ([http://www.birmingham.gov.uk/twins]) ตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1992]]
บรรทัด 291:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.leipzig.de/int/en/ เว็บไซต์เมืองไลป์ซิกไลพ์ซิก]
* [http://wikitravel.org/en/Leipzig/ เว็บวิกิท่องเที่ยว (ภาษาอังกฤษ)]
* [http://www.zv.uni-leipzig.de/ เว็บไซด์มหาวิทยาลัยไลป์ซิกไลพ์ซิก]
* [http://www.germany-tourism.de/ เว็บไซด์แนะนำการท่องเที่ยวเยอรมนี]
 
== บทความที่เกี่ยวข้อง ==
 
* [[มหาวิทยาลัยไลป์ซิกไลพ์ซิก]]
* [[โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค]]
* [[แซกโซนี]]
บรรทัด 306:
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{เรียงลำดับ|ลไลป์ซิกลไลพ์ซิก}}
{{โครงประเทศ}}