ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ซัมมาย (คุย | ส่วนร่วม)
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 3:
{{Infobox artist
| bgcolour = yellow
| name = ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เอกซ์เพรสชั่นนิสม์
| image = Fränzi_Reclining.jpg
| imagesize = 300px
| caption = ตัวอย่างงานในกระแสลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เอกซ์เพรสชันนิสม์ ผลงานของ [[อีริค แฮคเคล]] ชื่อภาพ Fränzi Reclining
| birth_name =
| birth_date =
บรรทัด 20:
}}
 
'''ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน''' ({{lang-en|German Expressionism}}) เป็นแขนงของ[[ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์]]ซึ่งเกิดขึ้นที่กรุงเบอร์ลิน โดยนายหน้าค้างานศิลปะที่ชื่อว่า [[Paul Cassirer]] มีกระแสการทำงานศิลปะที่ต้องการเน้นย้ำให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างลัทธิสำแดงพลังอารมณ์และ[[ลัทธิประทับใจ]]
= เยอรมัน เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ =
'''ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน'''({{lang-en|German Expressionism}})
เอกซ์เพรสชั่นนิสม์เกิดขึ้นที่กรุงเบอร์ลิน โดยนายหน้าค้างานศิลปะที่ชื่อว่า [[Paul Cassirer]]
เอกซ์เพรสชั่นนิสม์คือกระแสการทำงานศิลปะ ที่ต้องการเน้นย้ำให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างเอกซ์เพรสชั่นนิสม์และ[[อิมเพรสชันนิสม์]]
 
เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ เป็นศิลปะที่มีความสำคัญและมีอำนาจจูงใจอย่างมากมายเกินคาด แพร่กระจายไปยังวรรณกรรม ละคร งานออกแบบ การเต้นรำ ภาพยนตร์รวมไปถึงงานสถาปัตยกรรม
เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ ถูกจำกัดอยู่ในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ จากช่วงเวลาทั้งหมดของพัฒนาการทางด้านศิลปะ เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ ถือเป็นคำพ้องความหมายของศิลปะสมัยใหม่โดยทั่วไป
ในปัจจุบันเห็นได้ชัดว่า ศิลปินได้กลายเป็นประวัติศาสตร์ไปแล้ว และเราพบว่าเป็นเรื่องยากที่จะหาจุดเด่นของศิลปินแต่ละคนจากรูปแบบงานศิลปะที่หลากหลายทั้งหมดของพวกเขา
แต่อย่างไรก็ตาม ยังคงมีศิลปินที่ได้รับการยกย่องให้เป็นต้นแบบของศิลปินเอกซ์เพรสชั่นนิสม์ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์อยู่จำนวนมาก
 
== การริเริ่มและจุดกำเนิด ==
 
[[วาสสิลี แคนดินสกี]] ({{lang-en|Wassily Kandinsky}}) ถือได้ว่าเป็นผู้วางรากฐานศิลปะลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ที่สำคัญที่สุด
เพราะงานศิลปะเอกซ์เพรสชั่นนิสม์ของเขาลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ของเขา นำไปสู่ศิลปะแนวแอ็บสแตรค ถือเป็นผลงานศิลปะที่มีความสอดคล้องกัน
ในทางกลับกันที่สถาบัน[[เบาเฮาส์]] ({{lang-de|Bauhaus}}) ก็มีการแถลงการณ์ เป็นการเริ่มก่อตั้งสถาบันศิลปะ
ที่ตอบสนองความต้องการรูปแบบของการใช้งานคู่ขนานไปกับความชัดเจนในด้านรูปทรง
 
สิ่งที่ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ได้แสดงออกคือความง่าย พวกเขาแสดงให้เห็นถึงสัญลักษณ์ทางธรรมชาติ อยู่ภายใต้พื้นฐานจังหวะของธรรมชาติ
พวกเขาสร้างดินแดนในอุดมคติ สร้างโลกที่ตรงกันข้ามกับโลกที่สังคมกำหนด ต่อต้านกระบวนการของระบบอุตสาหกรรมและรัฐบาล ต่อต้านระบบการเมืองการปกครอง
และงานศิลปะที่ถูกครอบงำด้วยการสร้างงานแบบศิลปะ[[อิมเพรสชันนิสม์ลัทธิประทับใจ]]จาก Berlin Secession ภายใต้การควบคุมของประธานาธิบดี Max Liebermann
และในช่วงปี 1914 Berlin Secession เรียกร้องที่จะเป็นตัวแทนเพียงหนึ่งเดียวของศิลปะสมัยใหม่ในเยอรมนี
ทำให้คนหนุ่มสาวรุ่นใหม่ความรู้สึกไม่พอใจ
 
แต่อย่างไรก็ตาม ถือเป็นความผิดพลาดอย่างสมบูรณ์ที่จะพูดถึงรูปแบบของลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ ด้วยการพิจารณาจากคุณสมบัติพื้น ๆ โดยทั่วไป
เพราะงานศิลปะของ [[เอิร์นสต์ ลุดวิก เคียร์คเนอร์|เคียร์คเนอร์]] ({{lang-de|Ludwig Kirchner}}), [[วาสสิลี แคนดินสกี]] ({{lang-en|Wassily Kandinsky}}),
[[โคคอซกา]] ({{lang-de|Oskar Kokoschka}}) และ [[ดิกซ์]] ({{lang-de|Otto Dix}}) มีความแตกต่างกัน
เส้น 49 ⟶ 46:
แต่เป็นที่แน่ชัดว่าพวกเขาคือคนวัยหนุ่มสาวยุคใหม่ ผู้ซึ่งไม่ยอมรับในที่เหนือกว่าอำนาจของสังคมและโครงสร้างทางการเมืองในรูปแบบต่าง ๆ
 
ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ได้รับอิทธิพลอย่างมาก จากงานของ [[ฟินเซนต์ ฟาน ก็อกฮ์]] (Vincen van Gogh), [[ปอล โกแก็ง]] (Paul Gaugain),
โครแบร์ เดอลาเนย์ (Robert Delaunay), เจมส์ เอนเซอร์ (James Ensor) และเอ็ดวาร์ด มุนช์ (Edvard Munch)
เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ได้รับแนวคิดในการทำงานศิลปะมาจากชีวิตและสังคมของศิลปินเหล่านี้
 
== กลุ่มศิลปินในกระแส ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ ==
* [[เดอะ บริดจ์]] ({{lang-en|The Bridge}}:{{lang-de|Die Brücke}})
* [[กลุ่มเบลาไรเทอร์|เดอะ บลู ไรเดอร์]] ({{lang-en|The Blue Rider}}:{{lang-de|Der Blaue Reiter}})
* [[นอร์ธเธิร์น ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เอกซ์เพรสชั่นนิสม์]] ({{lang-en|Norther German Expressionism}})
 
 
สถาบันของกลุ่มศิลปิน [[เดอะ บริดจ์]] แห่งเมือง[[เดรสเดิน]] ({{lang-de|Dresden}}) ในปี 1905 ได้รับการยกย่องโดยทั่วไปให้เป็นรากฐานสำคัญแรก
ของลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ ถือเป็นการปฏิวัติศิลปะหลังสถานการณ์ที่ไม่สงบในปี 1920 ที่ดูเหมือนว่าจะเป็นจุดจบของการเคลื่อนไหวทางศิลปะในเยอรมนี
แต่อย่างไรก็ตาม มันไม่ได้หมายความว่าหลังจากปี 1920 เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ได้หยุดการเคลื่อนไหวในงานศิลปะ วรรณกรรมและสถาปัตยกรรมลงไปในทันที
และช่วงเวลาระหว่างปี 1905 -1920 ก็เป็นเพียงการกำหนดช่วงเวลาทางการเมืองและสถานการณ์ทางสังคมเท่านั้น
ช่วงเวลาที่พวกเขาค้นพบแนวทางการทำงานศิลปะเอกซ์เพรสชั่นนิสม์ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ในช่วงเวลาที่บ้านเมืองไม่เป็นปกติ
 
เดอะ บลู ไรเดอร์ ({{lang-de|The Blaue Reiter}}) และศิลปินในกลุ่ม ไรน์นิช เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ ({{lang-en|Rhenish Expressionism}})
ได้ยึดเอาทฤษฎีสีของ โครแบร์ เดอลาเนย์ (Robert Delaunay) มาใช้
ในขณะที่ศิลปินในกลุ่ม เดอะ บริดจ์ เทิดทูน เอ็ดวาร์ด มุนช์ (Edvard munch) และ เจมส์ เอนเซอร์ (James Ensor)
เส้น 74 ⟶ 71:
การเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มเดอะ บริดจ์ แห่งเมืองแห่งเมือง[[เดรสเดิน]] ({{lang-de|Dresden}})
และกลุ่ม เดอะ บลู ไรเดอร์ แห่งเมือง[[มิวนิก]] ({{lang-en|Munich}}:{{lang-de|München}})
คือตัวอย่างความหลากหลายของศิลปะกระแสเอกซ์เพรสชั่นนิสม์ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์
มีเพียงศิลปินในกลุ่ม เดอะ บริดจ์ เท่านั้นที่ถือได้ว่าเป็นกลุ่มที่ศิลปินภายในกลุ่มทำงานร่วมกันและอยู่อาศัยด้วยกัน
ในทางตรงกันข้ามกลุ่มเดอะ บลู ไรเดอร์ เป็นชื่อที่ไม่เคยถูกเลือกให้เป็นชื่อกลุ่มของศิลปิน
 
แท้จริงแล้วที่มาดั้งเดิมของกลุ่ม [[นอร์ธเธิร์น ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เอกซ์เพรสชั่นนิสม์]] มาจากถ้อยแถลง
ของ วาซซิลลี คานดินสกี้ (Wassily Kandinsky) และ[[ฟรานซ์ มาร์ก]] ({{lang-en|Franz Marc}})
ในทางตรงกันข้ามกลุ่มศิลปิน เดอะ บริดจ์ ใช้เวลาของพวกเขากับการสะท้อนให้เห็นสิ่งที่พวกเขาทำและจุดมุ่งหมายทางศิลปะของพวกเขาเพียงน้อยนิด
แต่พวกเขาพยายามที่จะหยิบเอาประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสของพวกเขาถ่ายทอดลงสู่ผลงานโดยตรง
 
== อ้างอิง ==
* Stephanie Barron. German expressionism (Munich : Prestel),1988.
* Dietmar Elger. Expressionism (Koln : Taschen),2002.
* โวล์ฟ, นอร์แบร์ท. เอกซ์เพรสชั่นนิสม์ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ (กรุงเทพฯ : เดอะเกรทไฟน์อาร์ท),2552.
 
[[หมวดหมู่:วัฒนธรรมเยอรมัน]]