ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลินเดน (ยาฆ่าแมลง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ca:Lindà
Krungdeb (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 36:
ลินเดนเป็นสารที่เป็นพิษต่อ[[ระบบประสาท]]โดยรบกวนการทำงานของ[[สารสื่อประสาท]] GABA โดยรบกวนการทำงานของตัวรับ GABAA ในมนุษย์ ลินเดนมีผลต่อระบบประสาท [[ตับ]] [[ไต]] และอาจจะเป็น[[สารก่อมะเร็ง]]และสารรบกวนระบบ[[ต่อมไร้ท่อ]]<ref name="Agency">Agency for Toxic Substances and Disease Registry, U.S. Department of Health and Human Services. Toxicologic profile for alpha-, beta, gamma- and delta-hexachlorocyclohenxane. August 2005. http://www.atsdr.cdc.gov/toxprofiles/tp43.pdf</ref><ref>[http://www.epa.gov/oppsrrd1/REDs/factsheets/lindane_fs_addendum.htm Lindane Voluntary Cancellation and RED Addendum Fact Sheet], US EPA, July 2006.</ref> [[องค์การอนามัยโลก]]จัดให้ลินเดนเป็นสารที่เป็นอันตรายปานกลาง และมีการควบคุมการค้าสารนี้ในระดับนานาชาติ <ref>World Health Organization, [http://www.who.int/ipcs/publications/pesticides_hazard_rev_3.pdf ''The WHO Recommended Classification of Pesticides by Hazard''], 2005.</ref> ถูกห้ามใช้แล้วใน 50 ประเทศ และใน พ.ศ. 2552 ได้ถูกจัดให้เป็นสารที่ควรถูกห้ามผลิตและห้ามใช้ทั่วโลก <ref name="engeler">Eliane Engeler, [http://www.google.com/hostednews/ap/article/ALeqM5hbOVAkthedCGXVueggOgYrUsru2QD982KQ780 "UN: Treaty expanded by 9 more dangerous chemicals"], Associated Press 2009-05-09</ref>
 
ปัจจุบัน Lindane ยังปรากฏอยู่ในเภสัชตำรับของสหรัฐอเมริกา 2011 เล่มปัจจุบันล่าสุด The United State Pharmacopeia 2011 <ref>http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Pharmacopeia</ref> ซึ่งพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ให้การรับรองคุณภาพและความปลอดภัย นอกจากนี้ยังมีรายงานของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ นักวิทยาศาสตร์ และนักสิ่งแวดล้อมหลายท่านจากสหรัฐอเมริกา แสดงความคิดเห็นว่าการใช้ Lindane สำหรับรักษาหิดเหาและโลน มีประสิทธิภาพดี และควรใช้ Lindane เป็นแนวทางในการรักษาหิดเหาและโลนต่อไป <ref>www.lindane.com/pov</ref>
== อ้างอิง ==
สำหรับประเทศไทย 1% Lindane cream ราคาถูก ได้มีการผลิตและจำหน่ายแพร่หลายในประเทศมากว่า 60 ปี ไม่เคยปรากฏรายงานเกี่ยวกับอันตรายจากการใช้ยาเลย ตามข้อมูลของศูนย์เฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาของคณะกรรมการอาหารและยา และ1% Lindane cream เป็นผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวที่สามารถกำจัดเหาและไข่เหาได้ในการใช้เพียงครั้งเดียว ซึ่งผลิตภัณฑ์อื่นทุกชนิดไม่สามารถกำจัดไข่เหาได้ และต้องใช้ 2-3 ครั้ง เพื่อรอให้ไข่เหาฟักเป็นตัวเสียก่อน จึงจะกำจัดเหา นับเป็นความสิ้นเปลืองและไม่สะดวกในการรักษาเหา ดังนั้นในแง่ของประสิทธิภาพ ความปลอดภัยและความสะดวกในการรักษาจึงไม่มียาชนิดใดสามารถเทียบ 1% Lindane cream ได้ ดังปรากฏในรายงานของ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งได้ตีพิมพ์ในวารสารศรีนครินทร์เวชสาร ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เม.ย. – มิ.ย. 2535 หน้า 92 – 96 โดยย่อดังนี้ ผลการรักษาเด็กนักเรียนที่เป็นเหาด้วยยา 1% Lindane cream ด้วยการชโลมยาให้ทั่ว คลุมผมด้วยถุงพลาสติก 12 ชั่วโมง ผลการศึกษาครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่า 1% Lindane cream มีประสิทธิภาพในการกำจัดเหา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การชโลมยานี้บนเส้นผมแล้วทิ้งไว้นาน 12 ชั่วโมง ซึ่งทำให้ผลการรักษาสูงถึง 97.4% และยังมีฤทธิ์ในการทำลายระยะตัวอ่อนของเหาที่อยู่ในไข่ได้ 100% ( http://www.smj.ejnal.com/e-journal/showdetail/?show_preview=T&art_id=771)
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
=== รัฐบาลและองค์กรต่างๆ ===