ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิสัญญาลาเตรัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Idioma-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.3) (โรบอต เพิ่ม: lt:Laterano susitarimas
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สนธิสัญญาลาเตรัน''' เป็นหนึ่งใน'''กลุ่มสนธิสัญญาลาเตรัน ค.ศ. 1929''' หรือ'''ข้อตกลงลาเตรัน''' ซึ่งเป็นความตกลงสามฉบับที่กระทำใน ค.ศ. 1929 ระหว่าง[[ราชอาณาจักรอิตาลี (ค.ศ. 1861-1946)|ราชอาณาจักรอิตาลี]]กับ[[สันตะสำนัก]] ให้สัตยาบันเมื่อวันที่ 7 มิถุนาย ค.ศ. 1929 ยุติ "[[ปัญหาโรมัน]]" อิตาลอิตาลีขณะนั้นอยู่ภายใต้รัฐบาลฟาสซิสต์ รัฐบาลอิตาลีชุดต่อมาทั้งหมดต่างถือสนธิสัญญานี้
 
กลุ่มสนธิสัญญาลาเตรันประกอบด้วยเอกสารสามฉบับ ดังนี้
# สนธิสัญญาการเมืองรับรองเอกราชสมบูรณ์ของสันตะสำนักใน[[นครรัฐวาติกัน]] ซึ่งถูกก่อตั้งขึ้นนั้น
# [[ความตกลงระหว่างสันตะปาปากับรัฐบาล]] (concordat) ซึ่งวางระเบียบฐาะของฐานะระหว่าง[[คริสตจักรคาทอลิก]]และศาสนา[[โรมันคาทอลิก]]ในกับรัฐอิตาลี
# อนุสัญญาการเงินซึ่งได้เห็นพองกันว่าเป็นการชำระหนี้การอ้างสิทธิ์ของสันตะสำนักขั้นสุดท้าย หลังสูญเสียดินแดนและทรัพย์สิน
 
การเจรจาเพื่อการชำระหนี้ของปัญหาโรมันเริ่มขึ้นใน ค.ศ. 1926 ระหว่างรัฐบาลอิตาลีกับสันตะสำนัก และเป็นผลให้เกิดความตกลงในข้อตกลงลาเตรันสามฉบับ ลงพระปรมาภิไธยโดย [[พระเจ้าวิกเตอร์ อิมมานูเอลที่ 3 แห่งอิตาลี]], ลงนามโดย [[เบนิโต มุสโสลินี]] นายกรัฐมนตรีอิตาลีและผู้นำ ("ดูเช") แห่งพรรคฟาสซิสต์แห่งชาติ และแทน[[สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11]] โดยปิเอโตรปีเอโตร กัสปาร์รี เลขาธิการแห่งรัฐคาร์ดินัล เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1929 ความตกลงนี้ลงนามในพระราชวังลาเตรัน จึงเป็นชื่อของสนธิสัญญา
ความตกลงนี้รวมสนธิสัญญาการเมืองซึ่งสถาปนารัฐ[[นครวาติกัน]]และรับรองเอกราชที่บริบูรณ์และเป็นอิสระแก่สันตะสำนัก สมเด็จพระสันตะปาปาถูกผูกมัดให้เป็นกลางในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและงดการไก่เกลี่ยในข้อถกเถียงเว้นแต่ได้รับการร้องขอจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องโดยเฉาะตลอดไป ความตกลงระหว่างสันตะปาปากับรัฐบาลซึ่งระบุให้นิกายคาทอลิกเป็นศาสนาประจำชาติอิตาลี ความตกลงการเงินได้รับการตอบรับว่าเป็นการชำระหนี้กาอ้างสิทธิ์ทั้งหมดของสันตะสำนักต่ออิตาลีซึ่งเกิดจากการสูญเสียอำนาจทางโลกใน ค.ศ. 1870