ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัตราเร็วของแสง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เขียนผิด
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 4341242 สร้างโดย 202.12.73.129 (พูดคุย)
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Blueglow.jpg|frame|[[ปรากฏการณ์เชเรนคอฟ]] ในเครื่อง[[ปฏิกรณ์นิวเคลียร์]] เป็นผลมาจาก อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เร็วกว่าแสงที่เดินทางในน้ำ]]
[[302.032..2.30ดิ่เดิด่เดี้กด36
23
 
'''อัตราเร็วของ[[แสง]] (speed of light) '''ใน[[สุญญากาศ]] มีนิยามว่าเท่ากับ 299,792,458 [[เมตรต่อวินาที]] (หรือ 1,079,252,848.8 [[กิโลเมตร]]ต่อ[[ชั่วโมง]] หรือประมาณ 186,282.397 [[ไมล์]]ต่อวินาที หรือ 670,616,629.4 ไมล์ต่อชั่วโมง) ค่านี้เขียนแทนด้วยตัว '''''[[c]]''''' ซึ่งมาจาก[[ภาษาละติน]]คำว่า celeritas (แปลว่า [[อัตราเร็ว]]) และเรียกว่าเป็นค่าคงที่ของ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์|ไอน์สไตน์]] แสงเป็นสิ่งที่แปลกประหลาดนั่นคือไม่ว่าผู้สังเกตจะเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง ไม่ว่าจะอยู่ในสถานที่ใด ด้วยเงื่อนไขใด อัตราเร็วของแสงที่ผู้สังเกตคนนั้นวัดได้ จะเท่าเดิมเสมอ ซึ่งขัดกับความรู้สึกของคนทั่วไป แต่เป็นไปตาม [[ทฤษฎีสัมพัทธภาพ]] ของ [[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]
55255.56
 
สังเกตว่าอัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ เป็น ''นิยาม'' ไม่ใช่ ''การวัด''
ใน[[หน่วยเอสไอ]]กำหนดให้ [[เมตร]] มีนิยามว่าเป็นระยะทางที่แสงเดินทางในสุญญากาศในเวลา 1/299,792,458 วินาที
แสงที่เดินทางผ่านตัวกลางโปร่งแสง (คือไม่เป็นสุญญากาศ) จะมีอัตราเร็วต่ำกว่า c
อัตราส่วนของ c ต่ออัตราเร็วของแสงที่เดินทางผ่านในตัวกลาง เรียกว่า [[ดรรชนีหักเห]]ของตัวกลางนั้น
 
== ภาพทั่วไป ==
จากทฤษฎีทาง[[ฟิสิกส์]] [[รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า]]ทุกชนิดรวมทั้งแสง จะแพร่ออกไป(เคลื่อนที่)ในสุญญากาศ ด้วยอัตราเร็วคงที่ค่าหนึ่ง เรียกว่า อัตราเร็วของแสง ซึ่งเป็นค่าคงที่เชิงกายภาค เขียนแทนด้วยตัว c ตาม[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]] [[ความโน้มถ่วง]]ยังแพร่ออกไปในอัตราเร็ว c ด้วย
 
จากกฎของแม่เหล็กไฟฟ้า (เช่น [[สมการของแมกซ์เวลล์]]) อัตราเร็ว c ของรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า จะไม่ขึ้นอยู่กับความเร็วของวัตถุที่ปล่อยรังสี
เช่น แสงที่ปล่อยออกมาจากวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง จะมีอัตราเร็วเดียวกับ แสงที่ปล่อยออกมาจากวัตถุที่อยู่นิ่ง (แม้ว่า สี, ความถี่, พลังงาน, และโมเมนตัมของแสงจะไม่เท่ากัน เรียกว่า [[ปรากฏการณ์ Relativistic Doppler]])
 
== การสื่อสาร ==
 
อัตราเร็วของแสงมีผลต่อ[[การสื่อสาร]]มากทีเดียว ตัวอย่างเช่น การสื่อสารจากโลกอีกด้านหนึ่ง ไปยังอีกด้านหนึ่ง ตามทฤษฎี ต้องใช้เวลาไม่น้อยไปกว่า 0.67 วินาที เพราะว่า[[โลก]]มีเส้นศูนย์สูตรหรือเส้นรอบวงยาว 40,075 กิโลเมตร
 
ในความเป็นจริง อาจต้องใช้เวลามากกว่านั้น เพราะว่าแสงที่เดินทางใน[[ใยแก้วนำแสง]]จะเดินทางช้าลงถึง 30% และไม่บ่อยนักที่เส้นทางการสื่อสารจะเป็นเส้นตรง นอกจากนี้ ยังมีความล่าช้า ที่เกิดจากสัญญาณเดินทางผ่านสวิตซ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือเครื่องกำเนิดสัญญาณอีกด้วย เช่น ในปี [[ค.ศ. 2004]] การสื่อสารจาก[[ออสเตรเลีย]]หรือจาก[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] ถึง[[สหรัฐอเมริกา]] นั้นต้องใช้เวลาถึง 0.18 วินาที
 
ผู้ที่ติดตามชมการสื่อสารระหว่าง[[ศูนย์ควบคุมฮิวส์ตัน]] (Houston ground control) กับ[[นีล อาร์มสตรอง]]เมื่อเขาอยู่บนดวงจันทร์ คงจะได้รู้ว่า เมื่อศูนย์ควบคุมได้ถามคำถามนีล เราต้องใช้เวลาประมาณ 3 [[วินาที]] กว่าจะได้รับคำตอบจากนีล แม้ว่าเขาจะตอบกลับมาทันทีก็ตาม ซึ่งเป็นผลมาจากอัตราเร็วของแสงที่จำกัด
 
การควบคุมยานอวกาศที่เดินทางระหว่างดาวเคราะห์จากศูนย์ควบคุมบนโลก จึงแทบเป็นไปไม่ได้ เพราะมันต้องใช้เวลานานมาก กว่าศูนย์ควบคุมบนโลกจะได้รับรายงาน และกว่ายานอวกาศจะได้รับสัญญาณตอบกลับ อาจต้องใช้เวลาเป็นชั่วโมง
 
อัตราเร็วของแสงมีผลต่อการสื่อสารในระยะทางสั้นๆด้วย ใน[[ซูเปอร์คอมพิวเตอร์]] อัตราเร็วของแสงเป็นตัวจำกัดว่ามันจะส่งข้อมูลระหว่างตัวประมวลผลได้เร็วเท่าไร ถ้าตัวประมวลผลมีความเร็ว 1 [[GHz]] สัญญาณจะเดินทางได้มากสุด 300 มิลลิเมตรในหนึ่งรอบการทำงาน ดังนั้น ตัวประมวลผลจึงต้องวางให้ใกล้กันมากเพื่อลดความล่าช้า ถ้าความถี่ของสัญญาณนาฟิกาเพิ่มขึ้น อัตราเร็วของแสงจะเป็นปัจจัยที่กำหนดการออกแบบภายในของ[[ชิป]]แต่ละตัว
{{โครงฟิสิกส์}}
 
[[หมวดหมู่:รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า]]
[[หมวดหมู่:หน่วยวัด]]
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ]]
[[หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์]]
 
{{Link FA|de}}
{{Link FA|en}}
{{Link FA|es}}
{{Link FA|sk}}
 
[[als:Lichtgeschwindigkeit]]
[[am:የብርሃን ፍጥነት]]
[[an:Velocidat d'a luz]]
[[ar:سرعة الضوء]]
[[arz:سرعة النور]]
[[as:পোহৰৰ বেগ]]
[[ast:Velocidá de la lluz]]
[[az:İşıq sürəti]]
[[be:Хуткасць святла]]
[[be-x-old:Хуткасьць сьвятла]]
[[bg:Скорост на светлината]]
[[bn:আলোর দ্রুতি]]
[[br:Tizh ar gouloù]]
[[bs:Brzina svjetlosti]]
[[ca:Velocitat de la llum]]
[[ckb:خێرایی ڕووناکی]]
[[cs:Rychlost světla]]
[[cy:Cyflymder golau]]
[[da:Lysets hastighed]]
[[de:Lichtgeschwindigkeit]]
[[el:Ταχύτητα του φωτός]]
[[en:Speed of light]]
[[eo:Lumrapido]]
[[es:Velocidad de la luz]]
[[et:Valguse kiirus]]
[[eu:Argiaren abiadura]]
[[ext:Velociá de la lus]]
[[fa:سرعت نور]]
[[fi:Valonnopeus]]
[[fr:Vitesse de la lumière]]
[[frr:Faard faan't laacht]]
[[fur:Velocitât de lûs]]
[[ga:Luas an tsolais]]
[[gl:Velocidade da luz]]
[[he:מהירות האור]]
[[hi:प्रकाश का वेग]]
[[hr:Brzina svjetlosti]]
[[hu:Fénysebesség]]
[[ia:Rapiditate de lumine]]
[[id:Laju cahaya]]
[[is:Ljóshraði]]
[[it:Velocità della luce]]
[[ja:光速]]
[[jbo:nilsutra lo gusni]]
[[ka:სინათლის სიჩქარე]]
[[kk:Жарық жылдамдығы]]
[[km:ល្បឿនពន្លឺ]]
[[ko:빛의 속력]]
[[la:Celeritas lucis]]
[[lb:Liichtgeschwënnegkeet]]
[[lt:Šviesos greitis]]
[[lv:Gaismas ātrums]]
[[mk:Брзина на светлината]]
[[ml:പ്രകാശവേഗം]]
[[mn:Гэрлийн хурд]]
[[ms:Kelajuan cahaya]]
[[nl:Lichtsnelheid]]
[[nn:Ljosfarten]]
[[no:Lysets hastighet]]
[[oc:Velocitat de la lutz]]
[[pl:Prędkość światła]]
[[pnb:چانن دی دوڑ]]
[[pt:Velocidade da luz]]
[[ro:Viteza luminii]]
[[ru:Скорость света]]
[[rue:Швыдкость світла]]
[[sco:Speed o licht]]
[[sh:Brzina svjetlosti]]
[[simple:Speed of light]]
[[sk:Rýchlosť svetla]]
[[sl:Hitrost svetlobe]]
[[sq:Shpejtësia e dritës]]
[[sr:Брзина светлости]]
[[stq:Luchtgauegaid]]
[[su:Laju cahaya]]
[[sv:Ljusets hastighet]]
[[sw:Kasi ya nuru]]
[[ta:ஒளியின் வேகம்]]
[[tr:Işık hızı]]
[[tt:Яктылык тизлеге]]
[[uk:Швидкість світла]]
[[ur:روشنی کی رفتار]]
[[uz:Yorugʻlik tezligi]]
[[vi:Tốc độ ánh sáng]]
[[war:Kalaksi han lamrag]]
[[yi:גיך פון ליכט]]
[[zh:光速]]
[[zh-classical:光速]]
[[zh-min-nan:Kng-sok]]
[[zh-yue:光速]]