ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมอกปนควัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gerakibot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: el:Φωτοχημικό νέφος
Boonlert (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17:
 
สารเคมีเหล่านี้ก่อให้เกิดหมอกควันแบบโฟโตเคมี ซึ่งเป็ญปัญหาของเมืองที่มีอุตสาหกรรมในปัจจุบัน ซึ่งมักเกิดขึ้นกับเมืองที่มีแดดแรง อากาศอบอุ่น และมียานพาหนะเป็นจำนวนมาก<ref>{{cite book |last=Miller, Jr. |first=George Tyler |title=Living in the Environment: Principles, Connections, and Solutions (12th Edition) |publisher=[[The Thomson Corporation]] |date=2002 |location=Belmont |pages=423 |isbn=0-534-37697-5}}</ref>
 
==ปัญหาอันเกิดจากหมอกควันและมาตรการที่เกี่ยวข้อง==
 
ปัญหาไฟป่าและหมอกควัน มีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอันเกิดจากทั้งสาเหตุไฟป่า และการเผาในที่โล่ง ส่งผลต่อความเสียหายทั้งสุขภาพ เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อันกลายเป็นปัญหาระหว่างชาติ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประสบปัญหาไฟป่าและหมอกควันเช่นเดียวกับภูมิภาคอื่นๆ จึงได้เกิด "ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน - ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution" อันมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกัน ลด และติดตามตรวจสอบมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน อันเป็นผลเนื่องจากไฟบนพื้นดิน และ/หรือไฟป่า โดยอาศัยความพยายามร่วมกันในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ ข้อตกลงนี้มีผลบังคับใช้เมื่อมีประเทศสมาชิก 6 ประเทศได้ให้สัตยาบันในความตกลงนี้ ซึ่งประเทศไทยพร้อมด้วยประเทศสมาชิกอาเซียนอีก 9 ประเทศได้ร่วมลงนามในข้อตกลงฯ นี้ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2545 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย และได้ดำเนินการให้สัตยาบันครบ 6 ประเทศเมื่อปลายปี พ.ศ. 2546 ส่งผลให้ข้อตกลงฯ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 ประเทศที่ให้สัตยาบันทั้ง 9 ประเทศ ได้แก่ บรูไน มาเลเซีย พม่า สิงคโปร์ เวียดนาม ไทย ลาว กัมพูชา และฟิลิปปินส์
 
 
== ดูเพิ่ม ==