ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดญาณเวศกวัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน
| full_name =
| common_name = วัดดอนเมือง
| image_temple =
| short_describtion =
| type_of_place =[[วัด]]
| branch = [[เถรวาท]] [[มหานิกาย]]
| abbot = [[พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)]]
| Bhikkhu = 12 รูป
| special_things =
| principal_buddha = พระพุทธประธานญาณเวศกวโนดม
เส้น 12 ⟶ 14:
| road_name =
| sub_district = ตำบลบางกระทึก
| district = [[อำเภอสามพราน]]
| province = [[จังหวัดนครปฐม]]
| zip_code =
| tel_no =
เส้น 31 ⟶ 33:
| footnote =
}}
{{ปรับภาษา}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''วัดญาณเวศกวัน''' (ซึ่งบางคนอ่านเป็น '''วัดดอนเมือง''') ตั้งอยู่เลขที่ 10 หมู่ที่ 3 ตำบลบางกระทึก [[อำเภอสามพราน]] [[จังหวัดนครปฐม]] ได้รับอนุญาตเป็นทางการ ให้สร้างขึ้นเมื่อ [[พ.ศ. 2532]] เริ่มมี[[พระสงฆ์]]เข้า[[จำพรรษา]]ในปีเดียวกันนั้น และมีประกาศตั้งเป็นวัดในปี [[พ.ศ. 2537]] ได้รับ พระราชทาน[[วิสุงคามสีมา]] เมื่อวันที่ [[20 กันยายน]] [[พ.ศ. 2542]] สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มี [[พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)]] เป็นเจ้าอาวาสสืบมาแต่ต้นจนถึงปัจจุบัน
 
ภายในเนื้อที่ 28 ไร่ 1 งาน 85 ตารางวา ร่มรื่นด้วยพรรณไม้น้อยใหญ่ ผลิดอกออกใบอยู่ทั่วบริเวณ โอบล้อมด้วยบรรยากาศ แห่งธรรมชาติที่เกื้อกูลกันระหว่างสรรพชีวิต เป็นรมณียสถานที่ให้ความสดชื่นผ่อนคลาย สงบเย็น แก่ผู้ที่แวะเวียนเข้ามาพักพิง ด้วย ความตั้งใจที่จะให้อารามแห่งนี้เป็นป่าที่เหมาะแก่การเข้ามาแสวงหาความรู้ เจริญธรรม เจริญปัญญา สมดังชื่อ "ญาณเวศกวัน" อันมี ความหมายว่า "ป่าที่มีเรือนแห่งความรู้" หรือ "ป่าของผู้เข้าสู่ญาณ" พื้นที่ส่วนใหญ่ของวัดจึงมีไว้สำหรับต้นไม้มากกว่าสิ่งปลูกสร้าง เพราะธรรมชาติที่อยู่รายล้อมรอบตัวคือแหล่งการศึกษาเรียนรู้อันกว้างใหญ่ ล้ำลึก เป็นธรรมะใกล้ตัวที่ผู้มีปัญญาจะพึงค้นพบ
 
== อาณาเขตของวัด ==
อาณาเขตของวัด ทิศเหนือ ติดทางสาธารณะในหมู่บ้าน ทิศใต้ ติดที่ดินราษฎร ทิศตะวันออก ติดเขตที่พักอาศัยและพุทธมณฑล ทิศตะวันตก ติดเส้นทางสาธารณะและคลอง
วัดมีอาณาเขตเรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
 
* [[ทิศเหนือ]] ติดทาง[[สาธารณะ]]ในหมู่บ้าน
พระประธานในอุโบสถ มีพระนามว่า พระพุทธประธานญาณเวศกวโนดม หน้าตักกว้าง 59 นิ้ว ทำพิธีเททองที่ โรงหล่อ พระพุทธปฏิมาพรเลิศ อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2541 นำเข้าประดิษฐานในอุโบสถ เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2542 ปิดทองเสร็จและสมโภช เมื่อวันที่ 12 และ 17 มกราคม 2542
* [[ทิศตะวันออก]] ติดเขตที่พักอาศัยและ[[พุทธมณฑล]]
* [[ทิศใต้]] ติดที่ดินราษฎร
* [[ทิศตะวันตก]] ติดเส้นทางสาธารณะและ[[คลอง]]
 
== พระประธานในอุโบสถ ==
พระประธานในอุโบสถ มีพระนามว่า [[พระพุทธประธานญาณเวศกวโนดม]] หน้าตักกว้าง 59 นิ้ว ทำพิธีเททองที่ โรงหล่อ พระพุทธปฏิมาพรเลิศ อ.[[อำเภอกำแพงแสน]] จ.จังหวัดนครปฐม เมื่อวันที่ [[5 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2541]] นำเข้าประดิษฐานในอุโบสถ เมื่อวันที่ [[7 มกราคม]] [[พ.ศ. 2542]] ปิดทองเสร็จและสมโภช เมื่อวันที่ [[12 มกราคม]] และ [[17 มกราคม]] [[พ.ศ. 2542]]
 
{{เรียงลำดับ|ญาณเวศกวัน}}