ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พลศึกษา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 41:
 
“ยอดเยี่ยม” แปลความตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นคำวิเศษณ์ ว่า ดีที่สุด, เลิศที่สุด ดังนั้นส่วนหนึ่งจากชื่อหัวข้อเรื่องคือ พลศึกษาเป็นคำที่ยอดเยี่ยม ผู้เขียนกำลังจะให้วิธีคิดและข้อคิดที่จะให้ทุกคนเข้าใจพลศึกษาในมุมมองของคำว่า “ยอดเยี่ยม” ซึ่งเป็นนามธรรมอันทรงคุณค่าแขนงหนึ่งที่ไม่มีการเปรียบเทียบกับแขนงอื่น
 
ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ แปลคำ “ พลศึกษา ” ว่า การศึกษาที่จะนำไปสู่ความเจริญงอกงามและพัฒนาการทางร่างกาย จากคำแปลนี้ นักวิชาการทางพลศึกษาทั้งต่างประเทศและในประเทศต่างให้คำจำกัดความของพลศึกษา ด้วยอรรถรสทางภาษาหลายรูปแบบ หลายลีลา แต่เมื่อตีความกันแล้ว มีความหมายที่คล้ายคลึงกัน เข้าใจกันว่าพลศึกษาเป็นอย่างไร คืออะไร หมายถึงอะไร เพียงแต่นักวิชาการทางพลศึกษาบางคนอาจมีรายละเอียดในการใช้คำมากกว่าบางคน ทั้งหมดทั้งมวล อ่านแล้วเข้าใจและให้ความหมายไปในทิศทางเดียวกันนั่นเอง
ในฐานะผู้เขียนเป็นครูพลศึกษาคนหนึ่ง มีประสบการณ์สอนมา ๓๒ ปี ขอให้แนวทางคำว่า
พลศึกษา เพื่อให้มองเห็นเนื้อในใจความของคำนี้อย่างถ่องแท้ในความหมาย ๓ ระดับจากคำว่า “คือ” ให้ภาษาที่สั้น กระชับและกว้างๆ จากคำว่า “เป็น” ให้ภาษาพื้นฐานที่เข้าใจได้และแยกย่อยอย่างง่ายๆ และ “หมายถึง” ให้ภาษาที่ขยายความ ที่แตกคำออก และเพิ่มคำที่สำคัญ ดังนี้
 
พลศึกษา เพื่อให้มองเห็นเนื้อในใจความของคำนี้อย่างถ่องแท้ในความหมาย ๓ ระดับจากคำว่า '''“คือ”''' ให้ภาษาที่สั้น กระชับและกว้างๆ จากคำว่า '''“เป็น”''' ให้ภาษาพื้นฐานที่เข้าใจได้และแยกย่อยอย่างง่ายๆ และ '''“หมายถึง”''' ให้ภาษาที่ขยายความ ที่แตกคำออก และเพิ่มคำที่สำคัญ ดังนี้
พลศึกษา คือ ศาสตร์และศิลป์ในการเรียนรู้ร่างกายและจิตใจ
 
พลศึกษา เป็น ชื่อสาระการเรียนรู้แขนงหนึ่งที่บังคับเรียนตามหลักสูตร เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกายและจิตใจอย่างถูกวิธี หรือหากจะเพิ่มรายละเอียดมากขึ้น ขอขยายความว่า
'''พลศึกษา คือ''' ศาสตร์และศิลป์ในการเรียนรู้ร่างกายและจิตใจ
พลศึกษา หมายถึง สาระการเรียนรู้แขนงหนึ่ง ที่ว่าด้วยการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนไหวที่ต้องบังคับร่างกายและควบคุมจิตใจ เพื่อก่อให้เกิดการใช้พลังงานอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย และใช้กีฬาเป็นสื่อในการเรียนรู้
 
แล้วถามต่อว่า เรียนพลศึกษาไปทำไม ก็จะต้องมีการสร้างวิธีคิดให้กับผู้เรียนเช่นกันว่าทุกเรื่องที่เรียนรู้มีเป้าหมายปลายทางทั้งสิ้น ดังนี้
'''พลศึกษา เป็น''' ชื่อสาระการเรียนรู้แขนงหนึ่งที่บังคับเรียนตามหลักสูตร เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกายและจิตใจอย่างถูกวิธี หรือหากจะเพิ่มรายละเอียดมากขึ้น ขอขยายความว่า
เรียนพลศึกษา เพื่อ ให้ร่างกายและจิตใจมีการเคลื่อนไหวที่ถูกวิธีและถูกต้อง จนก่อเกิดความแข็งแรงในร่างกายและความแข็งแกร่งในจิตใจ เมื่อเคลื่อนไหวสม่ำเสมอ จะมีสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจที่ดีต่อไป
จากนัยสำคัญของพลศึกษาในแง่ของคำว่า คือ,เป็น,หมายถึงและเพื่อ นั้น ย่อมแสดงถึงคุณค่ามหาศาลของคำ คำนี้ และเมื่อจะถอดรหัสใจความของเนื้อในที่มีหลายคำที่ทรงคุณค่า และสำคัญ ไม่ว่า ศาสตร์, ศิลป์, เคลื่อนไหว, บังคับร่างกาย, ควบคุมจิตใจ, ถูกวิธี, มีประสิทธิภาพ, ออกกำลังกาย, กีฬาเป็นสื่อ, ความแข็งแรงในร่างกาย, ความแข็งแกร่งในจิตใจ และสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ ยิ่งทำให้เห็นว่า คำนามธรรมคำหนึ่งที่ชื่อว่า “พลศึกษา” นั้น ทำไมจึงเป็นสาระการเรียนรู้ที่ยอดเยี่ยมได้ เพียงแต่จะไม่ขอกล่าวรายละเอียดในที่นี้ แต่จะให้แนวคิด, ข้อคิด และวิธีคิด อีกแง่มุมหนึ่งที่นักวิชาการทางพลศึกษาหลายคนมองข้ามไป กล่าวคือ จากการที่การศึกษาส่วนใหญ่ เรียนรู้มาจากองค์ความรู้จากตะวันตกเป็นหลัก ซึ่งก็คือ “ความรู้ทางโลก” ทำให้องค์ความรู้ทางตะวันออกอีกแง่มุมหนึ่งลืมเลือนไปหรือให้ความสำคัญน้อยกว่า ซึ่งก็คือ “ความรู้ทางธรรม” นั่นคือ วิธีคิดทางธรรม ซึ่งเป็นแนวคิดที่ค่อนข้างเป็นนามธรรม แต่สามารถทำให้เห็นเป็นรูปธรรมอยู่ตลอดเวลา และอยู่ใกล้ตัวของคนมากที่สุด
'''พลศึกษา หมายถึง''' สาระการเรียนรู้แขนงหนึ่ง ที่ว่าด้วยการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนไหวที่ต้องบังคับร่างกายและควบคุมจิตใจ เพื่อก่อให้เกิดการใช้พลังงานอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย และใช้กีฬาเป็นสื่อในการเรียนรู้
ในอดีตชาวพลศึกษาหลายคนเคยได้รับการปลูกฝังจากครูบาอาจารย์ และรุ่นพี่ ให้พูดคำว่า พลศึกษา ให้เต็มคำ ไม่ใช่พูดว่า “พละ” ซึ่งความคิดขณะนั้น จะหมายถึงว่าใช้เฉพาะกำลัง ไม่ออกแนวใช้ความรู้ทางสมองมากนักหรือไม่ออกแนววิชาการนั่นเอง แต่เกรงว่าคนอื่นจะเข้าใจผิดว่าชาวพลศึกษาใช้แต่กำลังมากกว่าใช้สมอง เมื่อวันเวลาผ่านไป ประสบการณ์และการเรียนรู้มากขึ้น ผู้เขียนเริ่มเข้าใจว่า พูดคำว่า “พละ” ก็ได้ แถมมีนัยสำคัญทางธรรมะประกอบอยู่เสมอ ให้ระลึกเสมอว่า พละเป็นเรื่องที่มีความรู้ทางโลกและทางธรรมอยู่รวมกัน อยู่ร่วมกัน และอยู่ช่วยเหลือเกื้อกูลกันตลอดเวลา ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น จากหนังสือพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ ของพระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) พ.ศ. ๒๕๒๗ กล่าวว่า
 
พละ ๕ คือธรรมอันเป็นกำลัง เป็นเครื่องเกื้อหนุนแก่อริยมรรค ประกอบด้วย ๑ ศรัทธา คือ การเชื่อ เป็น ความเชื่อในสิ่งที่มีเหตุผล ไม่ตื่นตูมไปกับลักษณะอาการภายนอก ๒ วิริยะ คือ ความเพียร เป็น การประพฤติความดี ทำกิจไม่ย่อท้อ ๓ สติ คือ การนึกได้ เป็น ไม่เผลอ คุมใจไว้ได้กับกิจที่ทำ ๔ สมาธิ คือ มีใจตั้งมั่น เป็น การทำใจให้สงบนิ่ง และ ๕ ปัญญา คือ การเข้าใจที่ชัดเจน เป็น การหยั่งรู้ แยกแยะได้ในเหตุผล ที่ถูกและผิด
แล้วถามต่อว่า เรียนพลศึกษาไปทำไม ก็จะต้องมีการสร้างวิธีคิดให้กับผู้เรียนเช่นกันว่าทุกเรื่องที่เรียนรู้มีเป้าหมายปลายทางทั้งสิ้น ดังนี้
เพื่อให้เป็นรูปธรรม จะขอยกตัวอย่างกีฬา เปตอง ดังนี้
 
๑ ศรัทธา ต้องเข้าใจและยอมรับว่า เปตองเป็นกีฬาอีกชนิดหนึ่งที่มีคุณค่าและประโยชน์ หรือขณะอารมณ์ไม่ดี ต้องดึงเอา ปัญญา มาจับอาการให้ทัน
'''เรียนพลศึกษา เพื่อ''' ให้ร่างกายและจิตใจมีการเคลื่อนไหวที่ถูกวิธีและถูกต้อง จนก่อเกิดความแข็งแรงในร่างกายและความแข็งแกร่งในจิตใจ เมื่อเคลื่อนไหวสม่ำเสมอ จะมีสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจที่ดีต่อไป
๒ วิริยะ หมั่นฝึกซ้อม ฝึกฝน อย่างจริงจังตั้งใจและมั่นคง มี ปัญญา ควบคุมตลอดเวลาว่าที่ปฏิบัติมานั้นดีแล้ว
 
๓ สติ ในการปฏิบัติหรือเล่นหรือแข่งขัน จิตใจต้องจดจ่อไปที่การเคลื่อนไหวในขณะนั้น เวลานั้น อย่าเผลอคิดเร่องอื่นให้วุ่นวาย และมี ปัญญามากำกับอีกเช่นกัน
จากนัยสำคัญของพลศึกษาในแง่ของคำว่า คือ,เป็น,หมายถึงและเพื่อ นั้น ย่อมแสดงถึงคุณค่ามหาศาลของคำ คำนี้ และเมื่อจะถอดรหัสใจความของเนื้อในที่มีหลายคำที่ทรงคุณค่า และสำคัญ ไม่ว่า ศาสตร์, ศิลป์, เคลื่อนไหว, บังคับร่างกาย, ควบคุมจิตใจ, ถูกวิธี, มีประสิทธิภาพ, ออกกำลังกาย, กีฬาเป็นสื่อ, ความแข็งแรงในร่างกาย, ความแข็งแกร่งในจิตใจ และสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ ยิ่งทำให้เห็นว่า คำนามธรรมคำหนึ่งที่ชื่อว่า “พลศึกษา” นั้น ทำไมจึงเป็นสาระการเรียนรู้ที่ยอดเยี่ยมได้ เพียงแต่จะไม่ขอกล่าวรายละเอียดในที่นี้ แต่จะให้แนวคิด, ข้อคิด และวิธีคิด อีกแง่มุมหนึ่งที่นักวิชาการทางพลศึกษาหลายคนมองข้ามไป กล่าวคือ จากการที่การศึกษาส่วนใหญ่ เรียนรู้มาจากองค์ความรู้จากตะวันตกเป็นหลัก ซึ่งก็คือ “ความรู้ทางโลก” ทำให้องค์ความรู้ทางตะวันออกอีกแง่มุมหนึ่งลืมเลือนไปหรือให้ความสำคัญน้อยกว่า ซึ่งก็คือ “ความรู้ทางธรรม” นั่นคือ วิธีคิดทางธรรม ซึ่งเป็นแนวคิดที่ค่อนข้างเป็นนามธรรม แต่สามารถทำให้เห็นเป็นรูปธรรมอยู่ตลอดเวลา และอยู่ใกล้ตัวของคนมากที่สุด
๔ สมาธิ เป็นการเพิ่มความเข้มบนความมุ่งมั่นมากกว่าสติ แต่นำปัญญามาควบคุมเช่นเดิม
 
อีกแง่มุมหนึ่งที่นักวิชาการทางพลศึกษาหลายคนมองข้ามไป กล่าวคือ จากการที่การศึกษาส่วนใหญ่ เรียนรู้มาจากองค์ความรู้จากตะวันตกเป็นหลัก ซึ่งก็คือ “ความรู้ทางโลก” ทำให้องค์ความรู้ทางตะวันออกอีกแง่มุมหนึ่งลืมเลือนไปหรือให้ความสำคัญน้อยกว่า ซึ่งก็คือ “ความรู้ทางธรรม” นั่นคือ วิธีคิดทางธรรม ซึ่งเป็นแนวคิดที่ค่อนข้างเป็นนามธรรม แต่สามารถทำให้เห็นเป็นรูปธรรมอยู่ตลอดเวลา และอยู่ใกล้ตัวของคนมากที่สุด
 
ในอดีตชาวพลศึกษาหลายคนเคยได้รับการปลูกฝังจากครูบาอาจารย์ และรุ่นพี่ ให้พูดคำว่า พลศึกษา ให้เต็มคำ ไม่ใช่พูดว่า “พละ” ซึ่งความคิดขณะนั้น จะหมายถึงว่าใช้เฉพาะกำลัง ไม่ออกแนวใช้ความรู้ทางสมองมากนักหรือไม่ออกแนววิชาการนั่นเอง แต่เกรงว่าคนอื่นจะเข้าใจผิดว่าชาวพลศึกษาใช้แต่กำลังมากกว่าใช้สมอง เมื่อวันเวลาผ่านไป ประสบการณ์และการเรียนรู้มากขึ้น ผู้เขียนเริ่มเข้าใจว่า พูดคำว่า “พละ” ก็ได้ แถมมีนัยสำคัญทางธรรมะประกอบอยู่เสมอ ให้ระลึกเสมอว่า พละเป็นเรื่องที่มีความรู้ทางโลกและทางธรรมอยู่รวมกัน อยู่ร่วมกัน และอยู่ช่วยเหลือเกื้อกูลกันตลอดเวลา ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น จากหนังสือพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ ของพระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) พ.ศ. ๒๕๒๗ กล่าวว่า
'''พละ ๕''' คือธรรมอันเป็นกำลัง เป็นเครื่องเกื้อหนุนแก่อริยมรรค ประกอบด้วย ''๑ ศรัทธา'' คือ การเชื่อ เป็น ความเชื่อในสิ่งที่มีเหตุผล ไม่ตื่นตูมไปกับลักษณะอาการภายนอก ''๒ วิริยะ'' คือ ความเพียร เป็น การประพฤติความดี ทำกิจไม่ย่อท้อ ''๓ สติ'' คือ การนึกได้ เป็น ไม่เผลอ คุมใจไว้ได้กับกิจที่ทำ ''๔ สมาธิ'' คือ มีใจตั้งมั่น เป็น การทำใจให้สงบนิ่ง และ ''๕ ปัญญา'' คือ การเข้าใจที่ชัดเจน เป็น การหยั่งรู้ แยกแยะได้ในเหตุผล ที่ถูกและผิด
 
เพื่อให้เป็นรูปธรรม จะขอยกตัวอย่างกีฬา เปตอง ดังนี้
๑ ศรัทธา ต้องเข้าใจและยอมรับว่า เปตองเป็นกีฬาอีกชนิดหนึ่งที่มีคุณค่าและประโยชน์ หรือขณะอารมณ์ไม่ดี ต้องดึงเอา ปัญญา มาจับอาการให้ทัน
๒ วิริยะ หมั่นฝึกซ้อม ฝึกฝน อย่างจริงจังตั้งใจและมั่นคง มี ปัญญา ควบคุมตลอดเวลาว่าที่ปฏิบัติมานั้นดีแล้ว
๓ สติ ในการปฏิบัติหรือเล่นหรือแข่งขัน จิตใจต้องจดจ่อไปที่การเคลื่อนไหวในขณะนั้น เวลานั้น อย่าเผลอคิดเร่องอื่นให้วุ่นวาย และมี ปัญญามากำกับอีกเช่นกัน
๔ สมาธิ เป็นการเพิ่มความเข้มบนความมุ่งมั่นมากกว่าสติ แต่นำปัญญามาควบคุมเช่นเดิม
๕ ปัญญา ต้องใช้การฟัง คิด ถาม และเขียน ให้เป็นนิสัย สะสมให้มาก เพื่อเป็นต้นทุนในการสร้างกำลังใจ ความแข็งแกร่งทางจิตและต่อเติมความคิดอย่างชาญฉลาด
 
ดังนั้นขอขยายความว่า พละ ๕ กับนักกีฬาเปตองหรือผู้สนใจกีฬาคนเล่นเปตอง เมื่อเรียนรู้ทักษะกลไกทางการเคลื่อนไหวของเปตองแล้ว ที่เรียกว่า ความรู้ทางโลก ที่มีองค์ประกอบของการใช้ร่างกายที่มีกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น เส้นประสาท ข้อต่อต่างๆ มาผสมผสานกับส่วนสมองในการคิดหาวิธีการฝึกฝนให้มีทักษะที่สูงขึ้น ในขณะเดียวกันนั้น ความรู้ทางธรรมคือ พละ ๕ ก็กำลังดำเนินการอยู่ภายในจิตใจ ควบคุมการฝึกฝนทักษะพร้อมกันตลอดเวลา สามารถเห็นเป็นรูปธรรม เมื่อแสดงออกมาทางอากัปกิริยาท่าทาง สีหน้า วาจา และอารมณ์ จึงเห็นว่าความรู้ทางโลกเสมือนเป็นศาสตร์ ที่ต้องเก็บเกี่ยวสาระความรู้มาคั้นกลั่นกรองสู่สมอง นำออกไปใช้ และความรู้ทางธรรมเสมือนเป็นศิลป์ ที่ต้องรู้จักบุคลิกตน รู้จักวางตน ใช้ความรู้ให้เหมาะสมกับสถานที่และช่วงเวลาในขณะนั้น ตามข้อตกลง และระเบียบที่กำหนด
 
พละ ๕ ที่นำไปใช้ในกีฬาเปตองเกิดขึ้นทุกขณะที่มีการอยู่นิ่ง หรือเคลื่อนไหว และเกิดขึ้นพร้อมกันทั้ง พละ ๕ หรือไล่เลี่ยกันเป็นทอดๆอย่างรวดเร็ว
นอกจากนี้ ประสบการณ์การสอนพลศึกษาทำให้เกิดการคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์ คำว่า “พลศึกษา” มาเป็นข้อคิดก็ได้ คำคมก็ดี ที่ส่งเสริมให้ คำว่าพลศึกษาเป็นสาระการเรียนรู้ที่ยอดเยี่ยม ดังประโยคและวลีต่อไปนี้
 
'''พลศึกษา เป็น ศาสตร์ และ ศิลป์ ที่ผสมผสานความรู้ทางโลก และ ความรู้ทางธรรม ในเรื่อง
๑ การใช้ เรี่ยวแรง อย่างชาญฉลาด เป็นศาสตร์ของความรู้ทางโลก
 
๒ การใช้ การเคลื่อนไหว อย่างหลักแหลม เป็นศาสตร์ของความรู้ทางโลก
 
๓ การใช้ สมอง อย่างปราดเปรื่อง เป็นศาสตร์ของความรู้ทางโลก
 
และ ๔ การใช้ จิต อย่างแยบยล เป็นศิลป์ของความรู้ทางธรรม'''
 
จึงเห็นได้ว่า พลศึกษาเป็นคำที่ยอดเยี่ยม ในตัวตนของมันเอง เป็นภาษาไทยคำหนึ่ง ที่มีคุณค่าอยู่ในชื่อของคำนี้ ไม่สมควรไปเปรียบเทียบกับคำในวิชาชีพอื่น ซึ่งก็มีคุณค่าเฉกเช่นกัน เป็นคำที่ประกอบด้วยความรู้ทางโลกและความรู้ทางธรรมอยู่ในคำ ส่วนการได้รับการสรรเสริญหรือการได้รับความเสื่อมเสียของคำนี้นั้น มาจากน้ำมือและการกระทำของคนที่นำพลศึกษาไปใช้ ว่าเข้าใจ เข้าถึง และลึกซึ้งกับคำว่า “พลศึกษา” หรือไม่อย่างไร เพราะพลศึกษาเป็นเนื้อหาและกิจกรรมที่เกี่ยวโยงนำมาเกี่ยวข้องกับร่างกายและจิตใจของคน จะเรียกว่าพลศึกษาอยู่ในร่างกายและจิตใจของทุกคน ทุกขณะและทุกเวลา ดังนั้นพลศึกษาจึงเป็นคำที่ยอดเยี่ยมอย่างเยี่ยมยอดจริงๆ