ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พอลิสไตรีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch: วิดีโอ
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch: มอนอเมอร์
บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
 
'''โพลีสไตรีน''' ({{lang-en|Polystyrene, PS}}) เป็น[[พลาสติก]]ที่ผลิตขึ้นมาจาก[[สไตรีนโมโนเมอร์มอนอเมอร์]] ซึ่งเป็นสาร[[ไฮโดรคาร์บอน]]ที่ได้จาก[[ปิโตรเลียม]] ถูกผลิตออกขายครั้งแรกในช่วงปี 1930 - 1939 ช่วงแรกสไตรีนที่ผลิตขึ้นมาถูกนำไปใช้ในสงครามโลก ครั้งที่ 2 เป็นหลัก หลังจากสงครามจบลงจึงเปลี่ยนมาผลิตเป็นพลาสติกโพลีสไตรีนออกขายแทน ในการผลิตโพลีสไตรีนยังมีวัตถุดิบอื่น ๆ ที่ใช้ร่วมด้วยได้แก่ เบนซีน เอทิลีน และบิวทาไดอีน
 
โพลีสไตรีนเป็นพลาสติกชนิดเทอร์โมพลาสติก คือหลอมเป็นของเหลวได้ โดยที่อุณหภูมิห้องจะอยู่ในสถานะของแข็ง แต่จะหลอมละลายเมื่อทำให้ร้อนและแข็งตัวเมื่อเย็นลง โพลีสไตรีนแข็งที่บริสุทธิ์จะไม่มีสี ใส แต่สามารถทำเป็นสีต่าง ๆได้ และยืดหยุ่นได้จำกัด
บรรทัด 8:
กระบวนการผลิตโพลีสไตรีนปลดปล่อยสารพิษอะไรบ้าง สารพิษที่ปลดปล่อยออกมาในระหว่างการผลิตโพลีสไตรีนได้แก่
# เบนซีน (เป็นสารก่อมะเร็ง)
# สไตรีนโมโนเมอร์มอนอเมอร์ (เป็นสารที่สงสัยว่าก่อให้เกิดมะเร็ง)
# 1,3-บิวทาไดอีน (เป็นสารที่สงสัยว่าก่อให้เกิดมะเร็ง)
# คาร์บอนเตตระคลอไรด์ ทำให้เกิดมะเร็งในสัตว์ทดลองและสงสัยว่าก่อให้เกิดมะเร็งในคน)
บรรทัด 28:
 
== ข้อควรระวัง ==
# การใช้ภาชนะโฟมพลาสติก EPS ใส่อาหารที่ร้อน เช่นกาแฟร้อน การค้นกาแฟร้อน ๆ ด้วยแท่งคนที่ทำจากพลาสติก EPS หรือการที่โฟมสัมผัสกับกรดเช่น้ำมะนาว หรืออาหารที่มีวิตามิน เอแล้วนำไปเข้าไมโครเวฟ ก็สามารถทำให้สไตรีนโมโนเมอร์มอนอเมอร์ในโฟมพลาสติกละลายออกมาผสมในอาหารได้
# การเผาโฟมพลาสติกโพลีสไตรีนทำให้เกิดก๊าซพิษสไตรีนออกไซด์ ซึ่งเป็นสาเหตุของของมะเร็ง
# การรีไซเคิลโฟมโพลีสไตรีนมีปัญหาในเรื่องไม่คุ้มทุนเป็นสำคัญ เนื่องจากคุณภาพของพลาสติกที่รีไซเคิลได้จะต่ำลงกว่าก่อนผ่านการรีไซเคิล ดังนั้นพลาสติกที่รีไซเคิลได้จึงไม่สามารถนำกลับมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เดิมได้ ต้องทำเป็นผลิตภัณฑ์ที่ด้อยคุณภาพลงไป เช่นโฟมบรรจุอาหารไม่สามารถรีไซเคิลกลับมาใส่อาหารได้อีก ต้องนำไปทำเป็นโฟมกันกระแทก ฉนวนฝาผนัง ถาดในโรงอาหาร เป็นต้น ซึ่งการทำเช่นนี้ต้องใช้เพิ่มวัตถุดิบหรือต้นทุนด้านต่าง ๆ เข้าไปอีก