ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทียนนกแก้ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธพร ส่องศรี (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ตารางจำแนกพันธุ์
| regnum = [[Plantae]]
| image = ImpatiensPsittacinaHooker.jpg
| image_caption = Parrot Flower ดอกเทียนนกแก้ว
| unranked_divisio = [[Angiosperms]]
| unranked_classis = [[Eudicots]]
| unranked_ordo = [[Asterids]]
| ordo = [[Ericales]]
| familia = [[Balsaminaceae]]
| genus = ''[[Impatiens]]''
| species = '''''I. psittacina'''''
| binomial = ''Impatiens psittacina''
| binomial_authority = [[Joseph Dalton Hooker|Hook.f.]]
|}}
'''ดอกเทียนนกแก้ว''' ({{lang-en|Parrot Flower}}) {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Impatiens psittacina Hk. f. }} อยู่ในวงศ์ BALSAMINACEAE อันดับ Ericales เป็นดอกไม้ที่แปลกตามาก เป็นพรรณไม้เฉพาะถิ่นของไทย หาไม่ได้จากที่ใด ๆ ในโลก จัดอยู่ในกลุ่มของต้น[[เทียน]] มีรูปทรงของดอกที่สวยงามเหมือน[[นกแก้ว]]ที่โดน[[แมว]]กัดไปครึ่งตัว เราเรียกชื่อตามลักษณะรูปทรงว่า ดอกเทียนนกแก้ว จัดอยู่ในกลุ่มพืชล้มลุกและเป็นพรรณไม้เมืองหนาว
=='''ลักษณะทางพฤกษศาสตร์'''==
 
'''ดอกเทียนนกแก้ว''' ({{lang-enชื่อวิทยาศาสตร์|ParrotImpatiens Flowerpsittacina}}); {{ชื่อวิทยาศาสตร์lang-en|Impatiens psittacina Hk. f.parrot flower}}) อยู่ในวงศ์ BALSAMINACEAE Balsaminaceae อันดับ Ericales เป็นดอกไม้ที่แปลกตามาก เป็นพรรณไม้เฉพาะถิ่นของไทย หาไม่ได้จากที่ใด ๆ ในโลก จัดอยู่ในกลุ่มของต้น[[เทียน]] มีรูปทรงของดอกที่สวยงามเหมือน[[นกแก้ว]]ที่โดน[[แมว]]กัดไปครึ่งตัว เราเรียกชื่อตามลักษณะรูปทรงว่า ดอกเทียนนกแก้ว จัดอยู่ในกลุ่มพืชล้มลุกและเป็นพรรณไม้เมืองหนาว
===ลำต้น===
ลำต้นอวบ[[น้ำ]] สูง 0.5-1.5 เมตร ไม้ล้มลุกมีอายุหลายปี สูง 30-150 ซม. ลำต้นกลวงและเป็นข้อปล้อง แตกกิ่งก้านมากมาย
ลำต้นอ่อนสีม่วงอมแดงและอวบน้ำ ลำต้นแก่สีเขียวอ่อนสลับสีเขียวแก่
 
=='''ลักษณะทางพฤกษศาสตร์'''==
===ใบ===
'''ลำต้น''' ลำต้นอวบ[[น้ำ]] สูง 0.5-1.5 เมตร ไม้ล้มลุกมีอายุหลายปี สูง 30-150 ซม. ลำต้นกลวงและเป็นข้อปล้อง แตกกิ่งก้านมากมาย ลำต้นอ่อนสีม่วงอมแดงและอวบน้ำ ลำต้นแก่สีเขียวอ่อนสลับสีเขียวแก่
[[ใบ]]เดี่ยว ออกเรียงสลับเวียนรอบลำต้นเป็นเกลียว รูปใบหอก หรือรูปไข่กว้าง กว้าง 2-4 ซม.
ยาว 4-6 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบหยักเป็นหนามแหลมสั้น โคนใบมน ผิวใบเรียบ
 
'''ใบ''' [[ใบ]]เดี่ยว ออกเรียงสลับเวียนรอบลำต้นเป็นเกลียว รูปใบหอก หรือรูปไข่กว้าง กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-6 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบหยักเป็นหนามแหลมสั้น โคนใบมน ผิวใบเรียบ
===ดอก===
ออก[[ดอก]]เดี่ยวตามก้านใบและปลายยอด ดอกมีรูปร่างคล้ายนกแก้วกำลังกางปีกบินดูสวยงามสะดุดตา
ขนาดดอก 2-3 ซม. ดอกสีม่วงแกมแดงและขาว หรือสีชมพูเข้มแกมแดงและขาว กลางดอกมีแต้ม
สีเหลือง ดอกเป็นรูปหลอดกว้าง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน สีชมพูอมขาวและมีจุดประ
สีม่วงแดง กลีบบนรูปขอบขนานมีขนาดยาวที่สุด ปลายกลีบแยกลึกเป็น 2 แฉก กลีบข้าง 2 กลีบแผ่
เป็นปีกแคบ กลีบล่างแผ่เป็นปีกกว้าง ปลายกลีบเว้าเป็น 2 พู เกสรตัวผู้มัดรวมกันลักษณะม้วนงอ
กลีบรองกลีบดอกเป็นรูปถ้วยปากบาน ส่วนโค้งเป็นถุง มีงวงน้ำหวานขนาดสั้นอยู่ท้ายสุด บริเวณที่ติด
กับก้านดอกพองออกเป็นปีกโค้งกลม ๆ 2 ปีก ก้านดอกยาวได้ถึง 6 ซม. ออกดอกในราวเดือน
สิงหาคมถึงต้นเดือนธันวาคม
 
'''ดอก''' ออก[[ดอก]]เดี่ยวตามก้านใบและปลายยอด ดอกมีรูปร่างคล้ายนกแก้วกำลังกางปีกบินดูสวยงามสะดุดตา ขนาดดอก 2-3 ซม. ดอกสีม่วงแกมแดงและขาว หรือสีชมพูเข้มแกมแดงและขาว กลางดอกมีแต้ม
===ผล===
สีเหลือง ดอกเป็นรูปหลอดกว้าง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน สีชมพูอมขาวและมีจุดประสีม่วงแดง กลีบบนรูปขอบขนานมีขนาดยาวที่สุด ปลายกลีบแยกลึกเป็น 2 แฉก กลีบข้าง 2 กลีบแผ่เป็นปีกแคบ กลีบล่างแผ่เป็นปีกกว้าง ปลายกลีบเว้าเป็น 2 พู เกสรตัวผู้มัดรวมกันลักษณะม้วนงอ กลีบรองกลีบดอกเป็นรูปถ้วยปากบาน ส่วนโค้งเป็นถุง มีงวงน้ำหวานขนาดสั้นอยู่ท้ายสุด บริเวณที่ติดกับก้านดอกพองออกเป็นปีกโค้งกลม ๆ 2 ปีก ก้านดอกยาวได้ถึง 6 ซม. ออกดอกในราวเดือนสิงหาคมถึงต้นเดือนธันวาคม
เป็นฝักยาวรูปกระสวย มีเมล็ดเป็นจำนวนมาก
 
แหล่งที่พบในไทย : เป็นพันธุ์[[ไม้]]หายากชนิดหนึ่ง พบขึ้นตามใต้ร่มเงาไม้ใหญ่ใน[[ป่าดิบ]]เขาหรือบริเวณโขดหินปูนที่อยู่สูง จากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 1,500-1,800 เมตร และพบได้เพียงที่เดียวคือที่ดอยหลวงเชียงดาว ดอกจะบานราวเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน คนทั่วไปจึงไม่มีโอกาสได้เห็นเพราะอยู่บน[[ภูเขา]]สูง การไปชมนั้นจะต้องเดินขึ้นภูเขาไปชม และดอกเทียนนกแก้วมักขึ้นในพื้นที่ที่เป็นโขดหิน ใกล้ ๆกับต้นหานช้างร้องที่เป็นพิษ
'''ผล''' เป็นฝักยาวรูปกระสวย มีเมล็ดเป็นจำนวนมาก
===แหล่งกำเนิดและแพร่กระจาย===
 
พบในดอยหลวงเชียงดาวที่[[ประเทศไทย]]
===แหล่งกำเนิดและแพร่กระจาย===
===ประโยชน์===
แหล่งที่พบในไทย : เป็นพันธุ์[[ไม้]]หายากชนิดหนึ่ง พบขึ้นตามใต้ร่มเงาไม้ใหญ่ใน[[ป่าดิบ]]เขาหรือบริเวณโขดหินปูนที่อยู่สูง จากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 1,500-1,800 เมตร และพบได้เพียงที่เดียวคือที่ดอยหลวงเชียงดาว ดอกจะบานราวเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน คนทั่วไปจึงไม่มีโอกาสได้เห็นเพราะอยู่บน[[ภูเขา]]สูง การไปชมนั้นจะต้องเดินขึ้นภูเขาไปชม และดอกเทียนนกแก้วมักขึ้นในพื้นที่ที่เป็นโขดหิน ใกล้ ๆกับต้นหานช้างร้องที่เป็นพิษ
 
===ประโยชน์===
เป็นพืชหายาก สวยงาม ได้ชมแล้วชื่นใจ
 
===ความงามไร้ที่ติ===
เหตุที่กล่าวว่าเป็นพืชที่สูงค่า เนื่องจากการพบเจอนั้นค่อนข้างลำบาก และสภาพแวดล้อม อุณหภูมิค่อนข้างต่ำ สามารถพบเทียนนกแก้วได้ที่[[ดอยหลวงเชียงดาว]] ทาง[[ภาคเหนือจังหวัดเชียงใหม่]]ของไทย ซึ่งบริเวณมีลักษณะเป็นเทือกเขา ซึ่งเทือกเขาเหล่านี้ประกอบไปด้วยยอดเขาสูงหลายยอด ยอดเขาที่สูงที่สุดเรียกว่าดอยหลวงเชียงดาว มีความสูงจาก[[ระดับน้ำทะเล]] 2,220 เมตรครอบคลุมพื้นที่ตำบลเมืองแหง อำเภอเวียงแหง ตำบลเมืองงาย ตำบลเมืองคลง ตำบลเชียงดาวและตำบลแม่น จังหวัด[[เชียงใหม่]] การเดินทางไปดูดอกเทียนนกแก้วนั้นจะต้องเดินไปตามป่า ขึ้นไปยังยอดดอย ซึ่งเป็นเป็นเทือกเขาหินปูน มีแนวทอดยาวรวมทั้งพืชพันธ์ดอกไม้ประเภทกึ่งอัลไพน์ เป็นพืชเฉพาะถิ่น หายากมีอยู่ ในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนธันวาคมดอกไม้ชนิดแรกที่จะเจอคือเทียนนกแก้วที่มีให้เห็นเฉพาะช่วงที่มีฝนหรือมีความชื้นสูงเท่านั้น นอกจากนี้ยังพบ ชมพูพิมพ์ใจ นางจอย หรีดเชียงดาว ฟองหินเหลือง ฟ้าคราม เหยื่อจง ขาวปั้น เป็นต้น
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{reflist}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://www.ipni.org/ipni/idPlantNameSearch.do?id=374288-1 Botanical Authorship]
* [http://www.snopes.com/photos/natural/parrotflower.asp Parrot Flower]
* [http://www.exoticrainforest.com/Rare%20Thailand%20Parrot%20Flower%20SP.html Exotic RainForest]
* [http://www.archive.org/stream/lejardin1902pari#page/92/mode/2up Le Jardin (1902)]
* [http://www.ubcbotanicalgarden.org/forums/showthread.php?t=30184 Scans of the original description]
 
{{เรียงลำดับ|ทเทียนนกแก้ว}}
{{DEFAULTSORT:Impatiens psittacina}}
[[หมวดหมู่:พืชที่พบในประเทศไทย]]
[[Category:Impatiens|psittacina]]
[[Category:Flora of Thailand]]
 
[[en:Impatiens psittacina]]