ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบญจศีล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
เบญจศีลมีอิทธิพลมากในสังคมอินเดียโบราณ จากคำสอนที่ปรากฏในคัมภีร์จักวัตติสูตรดังกล่าว เมื่อกาลผ่านไปก็กลายเป็นคุณธรรมขั้นพื้นฐานสำหรับนักบวชทั่วไปในสังคมอินดีย แต่ปรับปรุงเหลือเพียงสี่ข้อเท่านั้น ประกอบด้วย ไม่ฆ่าสัตว์ 1 ไม่ถือเอาของที่เขาไม่ได้ให้ 1 ไม่มีเพศสัมพันธ์ 1 และไม่อวด[[อุตริมนุษยธรรม]] 1
 
ต่อมา[[พระโคดมโคตมพุทธเจ้า]]อุบัติขึ้นและประกาศ[[พุทธศาสนาพุทธ]]ก็ทรงยอมรับเอาข้อห้ามห้าประการตามจักวัตติสูตรมาสั่งสอนในพุทธศาสนาอย่างแพร่หลาย เรียกว่า "ศีล" บ้าง "สิกขาบท" บ้าง แต่ในทางปฏิบัติหมายถึง เจตนางดเว้นจากการกระทำความชั่วห้าประการข้างต้น ไม่เพียงเท่านี้ ครั้งเสด็จออกบรรพชาก็ทรงถือปฏิบัติตามคุณธรรมนักบวชสี่ประการดังกล่าว โดยทรงขนานชื่อว่า "อกรณียกิจ 4" แปลว่า เรื่องที่นักบวชไม่พึงทำสี่ประการ และทรงนำไปเป็นเกณฑ์บัญญัติพระวินัยอีกด้วย ที่เห็นได้ชัดคือ [[ปาราชิก|ปาราชิก 4]]<ref name = Royin-02>ราชบัณฑิตยสถาน, 2548 : 364.</ref>
 
โดยเหตุที่เบญจศีลเป็นหลักธรรมสำหรับอุ้มชูโลก จึงได้รับสมญาต่าง ๆ อาทิ สมญาว่า "มนุษยธรรม" คือ ธรรมของมนุษย์ กล่าวคือ เมื่อมนุษย์รักษาธรรมะห้าประการนี้แล้ว โลกหรือสังคมก็จะสงบสุข<ref name = Royin-02/>, ว่า "นิจศีล" หรือ "นิตยศีล" คือ ศีลที่บุคคลทั้งนักบวชและฆราวาสพึงรักษาเป็นนิตย์, ว่า "คิหิศีล" คือ ศีลของ[[คฤหัสถ์]], ว่า "อาคาริยวินัย" คือ วินัยของผู้ครองเรือน เป็นต้น<ref name = Royin-03>ราชบัณฑิตยสถาน, 2548 : 365.</ref> [[ราชบัณฑิตยสถาน]]แห่ง[[ประเทศไทย]] แสดงความเห็นว่า "...น่าจะถือได้ว่า ศีล 5 เป็นรากฐานของศีลทั้งปวง..."<ref name = Royin-03/>
บรรทัด 21:
== องค์ประกอบ ==
 
เบญจศีลใน[[พุทธศาสนาพุทธ]]ประกอบด้วยข้อห้ามห้าข้อเช่นที่ปรากฏในคำกล่าวรับสมาทานศีล ดังต่อไปนี้<ref name = Royin-02/>
 
{| class="wikitable"
|-
! ลำดับที่ !! ข้อห้ามคำสมาทาน !! คำแปล
|-
| 1. ปาณาติบาต || ปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปทํสมาทิยามิ || เราจักถือศีลโดยเว้นจากการฆ่า[[สัตว์]]ตัด[[ชีวิต]]
บรรทัด 73:
* [http://www.84000.org/tipitaka/book/bookpn02.html ศีลเป็นอาภรณ์อันประเสริฐ]
 
{{เรียงลำดับ|บญจศีล}}
[[หมวดหมู่:ศีล]]
[[หมวดหมู่:ธรรมหมวด 5]]
 
[[หมวดหมู่:คุณธรรม]]
 
[[de:Fünf Silas]]