ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทำลายป่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tanyarat Komol (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
wwv
บรรทัด 1:
{{มุมมองสากล}}
[[ไฟล์:Amazonie deforestation.jpg|thumb|การทำลายป่าฝนอะเมซอน จากภาพถ่ายดาวเทียม จะเห็นถนนในป่ามีลักษณะเป็นรูปก้างปลา ("fishbone" pattern)]]
'''การทำลายป่า''' คือ สภาวะของ[[ป่า]]ตามธรรมชาติที่ถูกทำลายโดยการตัดไม้และการเผาป่า เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น การนำต้นไม้และถ่านไม้มาใช้หรือจำหน่ายเป็นโภคภัณฑ์ ในระหว่างที่ทำการเลี้ยงสัตว์ เพาะปลูก และตั้งถิ่นฐาน บนพื้นที่ว่าง การตัดไม้โดยไม่ปลูกทดแทนด้วยจำนวนที่เพียงพอ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อที่อยู่อาศัย ต่อ[[ความหลากหลายทางชีวภาพ]] และปัญหา[[ความแห้งแล้ง]] ซึ่งส่งผลเสียต่อการกักเก็บก๊าซ[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ใน[[บรรยากาศ]]โดยพืช การบริเวณพื่นที่ป่าถูกทำลายโดยมากจะเกิดความเสียหายจากการพังทลายของหน้าดิน และพื้นที่มักจะด้อยคุณภาพลงจนกลายเป็นที่ดินที่ทำประโยชน์มิได้
เส้น 4 ⟶ 5:
== สาเหตุ ==
สาเหตุที่เป็นต้นกำเนิดของการทำลายป่าที่เกิดขึ้นในปัจจุบันมีมากมาย รวมถึงการทุจริตของหน่วยงานรัฐบาล การกระจายความมั่งคั่งและอำนาจอย่างไม่เสมอภาค การเพิ่มประชากรและมีประชากรมากเกินไป และการพัฒนาให้กลายเป็นเมือง (สิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดจากขบวนการแรงงาน เงินทุน โภคภัณฑ์ และมโนคติ) ช่วยส่งเสริมการฟื้นฟูป่าเฉพาะที่
 
 
== รูปแบบการทำลายป่าที่สำคัญ ==
[[ไฟล์:Chino_copper_mine.jpg|thumb|right|250px|เหมืองทองแดงเอลชิโน ตัวอย่างเหมืองเปิดในสหรัฐอเมริกา]]
# การทำ[[ไร่เลื่อนลอย]] – การทำลายป่าในลักษณะนี้มีอยุ่มากในทาง[[ภาคเหนือ (ประเทศไทย)|ภาคเหนือ]] เพราะสภาพทางภูมิศาสตร์ของภาคเหนือมีแต่ภูเขา มีพื้นที่ราบค่อนข้างจำกัด เมื่อประชากรเพิ่มมากขึ้น จึงมีการขยายพื้นที่ทำมาหากินจากที่ราบขึ้นไปบนเขาทางหนึ่ง กับอีกทางหนึ่งคือชาวเขาที่อาศัยอยู่บนภูเขา ทำการแผ้วถางป่าเพื่อปลูกพืชไร่อยู่ตามภูเขาสูง โดยเฉพาะป่าดงดิบเขาบริเวณต้นน้ำลำธาร
# การบุกรุกป่าเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ – ลักษณะการบุกรุกป่าแบบนี้จะพบได้ทั่วไปในเขต[[ภาคกลาง]] [[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] และ[[ภาคตะวันออก]] มีการเปลี่ยนพื้นที่ป่าไม้อันอุดมมาเป็นไร่[[ข้าวโพด]] [[มันสำปะหลัง]] หรือปอ เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่รุนแรงและมีอยู่อย่างกว้างขวางมากทั้งในสามภาคของประเทศไทย
# การบุกรุกป่าเพื่อเข้าไปตั้งถิ่นฐานใหม่ – การทำลายป่าในรูปลักษณะนี้มองได้ชัดเจนจากการจัดที่ดินทำกินของนิคมต่างๆ เช่นนิคมสหกรณ์ที่ดิน นิคมชาวเขา ฯลฯ
บรรทัด 31:
</center>
อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2543 มีการประเมินพื้นที่ป่าโดยแปลความจากข้อมูลดาวเทียมมาตราส่วน 1:50,000 พบว่า มีพื้นที่ประมาณ 107 ล้านไร่ หรือร้อยละ 33.40 ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเป็นผลการประเมินขั้นต้นที่ยังไม่ได้ตรวจสอบความถูกต้องภาคพื้นดินจากพื้นที่ป่าที่เหลืออยู่จะมีพื้นที่ที่มีสภาพทางระบบนิเวศที่สมบูรณ์อยู่ไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบของอุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าที่ได้ทำการประกาศก่อนการยกเลิกสัมปทานป่าไม้ และจากการนำข้อมูลดาวเทียมปี พ.ศ. 2547 ไปทับซ้อนลงบนข้อมูลดาวเทียมปี พ.ศ. 2543 พบว่า นับจากปี พ.ศ. 2543 จนถึง พ.ศ. 2547 มีพื้นที่ป่าไม้ถูกบุกรุกรวม 1,476 แปลง รวมพื้นที่ 3,852,821 ไร่
 
== ผลของการตัดไม้ทำลายป่า ==
ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เมื่อไม่มีต้นไม้ปกคลุมทำให้แสงแดดส่องมายังพื้นโลกมากขึ้น ต้นไม้ยังช่วยขยายวัฏจักรของน้ำ ทำให้เกิดการหมุนกลับของไอน้ำเข้าสู่บรรยากาศ การทำลายป่าทำให้อุณภูมิของโลกสูงขึ้น อาจเป็นอันตรายต่อพืชและสัตว์
 
== ปัญหาทางสิ่งแวดล้อม ==
'''ทางด้านชั้นบรรยากาศ'''
เส้น 53 ⟶ 55:
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://www.asiaplantationthailand.com/deforestation.html]
* วรรณวนาลัย ไพสณฑ์ศรลักษณ์ และ พิทักษ์พนาลี วนศรีเสริมสยาม. 2524. '''รูปแบบของการทำลายป่าทีสำคัญ''', น. 16-20. ใน ชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติ ทุ่งพระเมรุ-แสนแสบ-ประสานมิตร-บางเขน, บรรณาธิการ. '''ป่าไม้จะอยู่ยั้งยืนยง'''. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร.
* [http://www.thaienvimonitor.net/Concept/priority1.htm]
{{จบอ้างอิง}}