ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีกรด–เบส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
− × ℃
บรรทัด 30:
[[ไฟล์:Johannes Brønsted.jpg| 150px | thumb| right | โยฮันเนส นิโคลัส เบรินสเตด (Johannes Nicolaus Brønsted) ]]
[[ไฟล์:Thomas Martin Lowry2.jpg| 150px |thumb| right | โทมัส มาร์ติน ลาวรี (Thomas Martin Lowry) ]]
AH + B {{eqm}} A<sup>-</sup> + BH<sup>+</sup>
 
พิจารณาการแตกตัวในน้ำของ[[กรดอะซิติก]] (CH<sub>3</sub>COOH) ดังสมการ:
 
CH<sub>3</sub>COOH (''aq'')) + H<sub>2</sub>O (''l'') {{eqm}} CH<sub>3</sub>COO<sup>-</sup> (''aq'')) + H<sub>3</sub>O<sup>+</sup> (''aq'')
 
: [[ไฟล์: Acetic-acid-dissociation-2D-curly-arrows.png|500px]]
 
 
ในสมการทิศทางไปข้างหน้า น้ำทำหน้าที่เป็น '''เบสเบรินสเตด''' (Brønsted Base) เนื่องจากรับโปรตอน (H<sup>+</sup>) มาจากกรดอะซิติก และกรดอะซิติกทำหน้าที่เป็น '''กรดเบรินสเตด''' (Brønsted Acid) และเมื่อพิจารณาสมการย้อนกลับ อะซิเตตไอออน (CH<sub>3</sub>COO<sup>-</sup>) ทำหน้าที่เป็นเบสเบรินสเตด เนื่องจากรับโปรตอน (H<sup>+</sup>) มาจากไฮโดรเนียมไอออน (H<sub>3</sub>O<sup>+</sup>) ที่เป็นกรดเบรินเสตด(เนื่องจากให้โปรตอนแก่อะซิเตดไอออน)
 
จากตัวอย่างข้างต้น ทำให้เกิด [[คู่กรด-เบส]]สังยุค (conjugate acid–base pair) ขึ้น โดย [[กรดอะซิติก]] (CH<sub>3</sub>COOH) เป็นคู่กรด (conjugate acid) ของอะซิเตตไอออน (CH<sub>3</sub>COO<sup>-</sup>) และอะซิเตตไอออน (CH<sub>3</sub>COO<sup>-</sup>) เป็นคู่เบส (conjugate base) ของกรดอะซิติก และในทำนองเดียวกัน น้ำ (H<sub>2</sub>O ) เป็นคู่เบสของไฮโดรเนียมไอออน (H<sub>3</sub>O<sup>+</sup>)
 
===ตัวอย่างปฏิกิริยากรดเบสของเบรินสเตด===
บรรทัด 47:
*H<sub>3</sub>O<sup>+</sup> + NH<sub>3</sub> {{eqm}} H<sub>2</sub>O + NH<sub>4</sub><sup>+</sup>
*[Fe(H<sub>2</sub>O)<sub>6</sub>]<sup>3+</sup> + H<sub>2</sub>O {{eqm}} [Fe(H<sub>2</sub>O)<sub>5</sub>OH]<sup>2+</sup> + H<sub>3</sub>O<sup>+</sup>
*H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> + H<sub>2</sub>O {{eqm}} HSO<sub>4</sub><sup>-</sup> + H<sub>3</sub>O<sup><sup>+</sup>
*{{chem|CH|3|COOH}} + {{chem|NH|3}} → {{chem|NH|4|}}<sup>+</sup> + {{chem|CH|3|COO|}}<sup>-</sup>
*{{chem|NH|4|}}<sup>+</sup> + {{chem|H|2|O}} {{eqm}} {{chem|H|3|O|}}<sup>+</sup> + {{chem|NH|3}}
 
บรรทัด 61:
สารประกอบที่ทำหน้าที่ได้ทั้งกรดเบรินสเตดและเบสเบรินสเตด เรียกว่าเป็น '''แอมโฟเทอริก''' (Amphoteric) โดยน้ำเป็นตัวอย่างของสารแอมโฟเทอริก ดังสมการ:
 
* AH + B {{eqm}} A<sup>-</sup> + BH<sup>+</sup>
 
* HNO<sub>3</sub> + H<sub>2</sub>O {{eqm}} NO<sub>3</sub><sup>-</sup> + H<sub>3</sub>O<sup><sup>+</sup>
(น้ำทำหน้าที่เป็นเบส)
 
* H<sub>2</sub>O + NH=C(NH<sub>2</sub>)<sub>2</sub> {{eqm}} OH<sup>-</sup> + H<sub>2</sub>N=C(NH<sub>2</sub>)<sub>2</sub><sup>+</sup>
(น้ำทำหน้าที่เป็นกรด)
 
บรรทัด 74:
 
* H<sup>+</sup> + OH<sup>−</sup> {{eqm}} H<sub>2</sub>O
* NH<sub>4</sub><sup>+</sup> + NH<sub>2</sub><sup>-</sup> {{eqm}} 2NH<sub>3</sub>
* H<sub>3</sub>SO<sub>4</sub><sup>+</sup>+HSO<sub>4</sub><sup>-</sup>{{eqm}} H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>
 
===กระบวนการแตกตัวเป็นไอออนด้วยตัวเอง===
บรรทัด 82:
 
* H<sub>2</sub>O {{eqm}} H<sup>+</sup> + OH<sup>−</sup>
* 2NH<sub>3</sub> {{eqm}} NH<sub>4</sub><sup>+</sup> + NH<sub>2</sub><sup>-</sup>
* H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> {{eqm}} H<sub>3</sub>SO<sub>4</sub><sup>+</sup>+HSO<sub>4</sub><sup>-</sup>
 
อนึ่ง ค่าคงที่สมดุลของการแตกตัวเป็นไอออนด้วยตัวเอง เรียกว่า '''ค่าคงที่การแตกตัวให้โปรตอนด้วยตัวเอง''' (Autoprotolysis Constant: ''K''<sub>AP</sub>) หรือ '''ผลคูณไอออน''' (Ionic Product) ในกรณีของน้ำค่า ''K''<sub>AP</sub> ใช้สัญลักษณ์เฉพาะเป็น ''K''<sub>W</sub> ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.0 x× 10<sup>-14</sup>
ที่อุณหภูมิ 25<sup>o</sup>C25℃:
''K''<sub>AP</sub> = ''K''<sub>W</sub> = [H<sup>+</sup>][OH<sup>-</sup>] = 1.0 x× 10<sup>-14 −14</sup>
ที่อุณหภูมิ 25<sup>o</sup>C25℃
 
ค่า p''K''<sub>AP</sub> ของ H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> เท่ากับ 2.9 ที่อุณหภูมิ 25<sup>o</sup>C25℃ และ p''K''<sub>AP</sub> ของ NH<sub>3</sub> เท่ากับ 27.7 ที่อุณหภูมิ -50<sup>o</sup>C−50℃ และโดยทั่วไปแล้ว ค่า p''K''<sub>AP</sub> จะมีค่าเปลี่ยนแปลงตาม[[อุณหภูมิ]]
 
{| class="wikitable" style="text-align:center"
|+ ค่า pK<sub>w</sub> ของน้ำที่เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ
|-
! scope="row" |อุณหภูมิ/°C (℃)
|0 ||5|| 10|| 15 ||20|| 25||30|| 35|| 40 ||45|| 50
|-
บรรทัด 102:
|}
 
['''หมายเหตุ:''' ค่า p''K''<sub>AP</sub> = -log''K''<sub>AP</sub> กรณี p''K''<sub>W</sub> = -log (1.0 x× 10<sup>-14 </sup>) = 14.0 ที่อุณหภูมิ 25<sup>o</sup>C25℃]
 
===ความแรงสัมพัทธ์ของกรดเบรินสเตด===
บรรทัด 116:
 
 
อย่างไรก็ตาม ค่าคงที่การแตกตัวของกรดเป็นค่าคงที่ที่เป็นค่าเฉพาะ ณ อุณหภูมิหนึ่งๆ และมีค่าเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิ รวมถึงขึ้นอยู่กับชนิดองตัวทำละลายด้วย ดังตารางเป็นตัวอย่างของค่า p''K''<sub>a</sub> ของกรดบางชนิดในตัวทำละลายชนิดต่างๆ ที่อุณหภูมิ 25<sup>o</sup>C25℃
 
{| class="wikitable"