ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาร์เอ็นเอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 32:
tRNA ในธรรมชาติพบว่ามีการปรับเปลี่ยนด่างเป็น 100 กรณี ที่เรายังไม่เข้าใจดีนัก
 
== การเปรียบเทียบระหว่าง RNA และ DNAกับดีเอ็นเอ ==
อาร์เอ็นเอกับดีเอ็นเอเป็นกรดนิวคลีอิกทั้งคู่ แต่มีข้อแตกต่างหลักอยู่สามประการ คือ
RNA เป็นโมเลกุลเกลียวเดี่ยว มีโซ่นิวคลิโอไทด์ที่สั้นกว่า ไม่เหมือนกับ DNA และ RNA มีน้ำตาลไรโบส (ribose) ในขณะที่ DNA เป็น ดีออกซิไรโบส (deoxyribose) (มี ไฮดรอกซิล กรุป เชื่อมต่อกับวงแหวนเพนโตส ที่ตำแหน่ง [[นิวคลิอิก แอซิดโนเมนเคลเจอร์|2']] ซึ่งใน DNA มี [[ไฮโดรเจน]] อะตอมแทนไฮดรอกซิล กรุป) ไฮดรอกซิล กรุป นี้จะทำให้ RNAมีสเถียรภาพน้อยกว่า DNA เพราะจะถูก [[ไฮโดรไลสิส]] ได้ง่าย นอกจากนี้ RNA หลายประเภท (tRNA, rRNA) มี เซกคอนดารีสตรักเจอร์ (secondary structure) ซึ่งช่วยให้มันมีสเถียรภาพมากขึ้น :)
* อาร์เอ็นเอเป็นโมเลกุลเกลียวเดี่ยวในบทบาททางชีวภาพจำนวนมาก และมีสายนิวคลีโอไทด์สั้นกว่าดีเอ็นเอ ขณะที่ดีเอ็นเอมีโมเลกุล[[เกลียวคู่กรดนิวคลีอิก|เกลียวคู่]]
* อาร์เอ็นเอมีน้ำตาลไรโบส ขณะที่ดีเอ็นเอมีน้ำตาลดีออกซีไรโบส (ไม่มี[[หมู่ไฮดรอกซิล]]เกาะกับวงแหวนเพนโทสที่ตำแหน่ง 2') หมู่ไฮดรอกซิลเหล่านี้ทำให้อาร์เอ็นเอเสถียรน้อยกว่าดีเอ็นเอเพราะเกิดการสลายด้วยน้ำ (hydrolysis) ได้
* เบสคู่สมของอะดีนีน คือ ยูราซิล มิใช่ไทมีนอย่างในดีเอ็นเอ ยูราซิลต่างจากไทมีนตรงที่มีหมู่เมทิลน้อยกว่าหนึ่งหมู่<ref name=Biochemistry>{{cite book|author=Berg JM, Tymoczko JL, Stryer L|title= Biochemistry|edition=5th|pages =118–19, 781–808|publisher= WH Freeman and Company|year=2002|isbn= 0-7167-4684-0|oclc=179705944 48055706 59502128}}</ref>
 
== การสังเคราะห์ ==