ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหล็กเส้น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Patta~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 6:
โดยปกติจะแบ่งเหล็กเสริมเป็นสองประเภท คือ
# '''เหล็กกลมผิวเรียบ''' SR24 มีกำลังรับแรงดึงที่[[จุดคราก]]ประมาณ 2400 ksc.(กก./ตร.ซม.) มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดต่างๆ เช่น RB6 (หมายถึง Round Bar ขนาด ศก.6 มม.), RB9, RB12, RB15, RB19, RB25 เนื่องจากผิวเหล็กที่มีลักษณะกลมเรียบจึงทำให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างเหล็กกับคอนกรีตไม่ดีจึงต้องมีการงอขอเพื่อที่จะสามารถถ่ายแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
# '''เหล็กข้ออ้อย''' SD30, SD40, SD50 มีกำลังรับแรงดึงที่จุดครากประมาณ 3000, 4000, 5000 ksc.โดยปกติจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เช่น DB10(หาในตลาดทั่วไปยาก), DB12(หมายถึง DeformDeformed Bar ขนาด ศก.12มม.), DB16, DB20, DB25, DB32 ผิวของเหล็กเส้นจะมีลักษณะเป็นปล้องเพื่อเพิ่มแรงยึดเหนี่ยวให้เหล็กกับคอนกรีตมากขึ้น
 
ความยาวโดยปกติที่ขายกันในท้องตลาด คือ 10 ม. แต่อาจจะสั่งพิเศษ เช่น 12 ม. หรือมากกว่านั้นก็ต้องสั่งทำพิเศษ