ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink: อิเล็กตรอน
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink: ไมโทคอนเดรีย
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Mitochondrial electron transport chain—Etc4.svg|thumb|400px|การขนถ่ายอิเล็กตรอนในไมโตคอนเดรียไมโทคอนเดรียของยูคาริโอต และการสร้าง ATP]]
'''ปฏิกิริยาออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน''' ({{lang-en|Oxidative phosphorylation}}) เป็น[[วิถีเมแทบอลิซึม]]ซึ่งใช้พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอาหารเพื่อสร้าง[[อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต]] (ATP) ซึ่งเป็นโมเลกุลที่เก็บสะสมพลังงานเพื่อใช้ใน[[เมแทบอลิซึม]] แม้สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ บนโลกจะใช้สารอาหารต่างกัน แต่สิ่งมีชีวิตที่อาศัยออกซิเจนแทบทุกชนิดล้วนเกิดปฏิกิริยาออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชันเพื่อสร้าง ATP สาเหตุที่วิถีนี้พบได้แพร่หลายอาจเป็นเพราะมันเป้นวิถีที่ทรงประสิทธิภาพในการปลดปล่อยพลังงาน เมื่อเทียบกับกระบวนการ[[การหมัก (ชีวเคมี)|การหมัก]]ทางเลือก เช่น ไกลโคไลสิสแบบไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic glycolysis)
 
บรรทัด 9:
 
== แหล่งที่เกิด ==
การถ่ายเทอิเล็กตรอนเกิดที่เยื่อหุ้มชั้นในของ[[ไมโตคอนเดรียไมโทคอนเดรีย]] ซึ่งไม่ยอมให้สารชนิดใดผ่านแม้แต่อนุภาคขนาดเล็ก เช่น [[โปรตอน]] เว้นแต่สารที่มีตัวขนส่งเฉพาะเท่านั้น ส่วนช่องว่างภายในเยื่อหุ้มชั้นใน บรรจุของเหลวที่เรียกว่า แมกตริกซ์ (matrix) ภายในของเหลวนี้มีเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับ[[วัฏจักรเครบส์]] และ[[การย่อยสลายกรดไขมัน]]
 
== ลำดับการขนส่งอิเล็กตรอน ==
การขนส่งอิเล็กตรอนในไมโตคอนเดรียไมโทคอนเดรียเป็นการส่งอิเล็กตรอนเป็นลำดับผ่านตัวรับอิเล็กตรอนต่างๆกันที่อยู่ที่เยื่อหุ้มชั้นในของไมโตคอนเดรียไมโทคอนเดรีย ตัวรับอิเล็กตรอนเหล่านี้เป็นเอนไซม์หลายตัวที่ทำงานอยู่ด้วยกันเป็นกลุ่ม (complex) ที่สำคัญมี 4 กลุ่มคือ
* complex I เป็นเอนไซม์ขนาดใหญ่ รับผิดชอบ 2 ปฏิกิริยาคือ รับอิเล็กตรอนจาก NADH + H+ และส่งอิเล็กตรอนต่อให้[[ยูบิควิโนน]]ซึ่งยูบิควิโนนจะส่งอิเล็กตรอนต่อให้ เอนไซม์กลุ่มที่ 3 และขับ H+ จากแมกตริกซ์เข้าสู่ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มชั้นนอกและเยื่อหุ้มชั้นใน
* complex II เป็นเอนไซม์ในวัฏจักรเครบส์เพียงตัวเดียวที่ยึดติดกับเยื่อหุ้ม โดยกลุ่มเอนไซม์นี้จะรับอิเล็กตรอนจาก FADH2 และส่งต่อไปให้กลุ้มเอนไซม์ที่ 3 ต่อไป โดยไม่มีการขับ H+ เข้าสู่ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้ม
บรรทัด 25:
 
== การควบคุมปฏิกิริยา ==
ความต้องการพลังงานของเซลล์เป็นปัจจัยสำคัญในการควบคุม[[ปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชั่น]] อัตรา[[การหายใจ]]จะถูกควบคุมด้วยปริมาณ ADP ถ้า ADP สูง อัตราการหายใจและการเกิดปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชั่นจะสูง เมื่อปริมาณ ATP สูง อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะต่ำลง เพราะจะสร้าง ATP เท่าที่ตำเป็นต้องใช้เท่านั้น ในเซลล์บางชนิดจะนำพลังงานที่ได้จากการไหลกลับของโปรตรอนไปสร้างความร้อน ไม่ได้นำไปสร้าง ATP เช่นเซลล์ใน[[เนื้อเยื่อไขมัน]]ที่มีไมโตคอนเดรียไมโทคอนเดรียมาก ซึ่งเรียกว่า brown fat เพราะจะเห็นเนื้อเยื่อที่มีเซลล์ชนิดนี้อยู่เป็นสีน้ำตาล ความร้อนที่ได้นี้จะนำไปใช้สร้างความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย
== อ้างอิง ==
* Lehninger, A.L., Nelson, D.L., and Cox, M.M. 1993. Principle of Biochemistry. 2nd ed. New York.: Worth