ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสลายตัวกัมมันตรังสี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fy:Radioaktiviteit
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch: อิเล็กตรอน
บรรทัด 35:
สำหรับประเภทของการแผ่กัมมันตภาพรังสี ค้นพบว่า[[สนามไฟฟ้า]]หรือ[[สนามแม่เหล็ก]]สามารถก่อให้เกิดการปลดปล่อยรังสีออกมาได้สามประเภท เนื่องจากไม่มีคำจำกัดความที่ดี จึงมีการกำหนดชื่อของรังสีดังกล่าวด้วย[[อักษรกรีก]]ตามลำดับ คือ [[แอลฟา]] [[เบต้า]] และ[[แกมมา]] ซึ่งยังใช้อยู่ในปัจจุบัน การสลายตัวแบบแอลฟานั้นพบในเฉพาะธาตุที่หนักมาก (พบในธาตุที่มี[[เลขอะตอม]] 52 และมากกว่าเท่านั้น) สำหรับการสลายอีกสองแบบนั้น เกิดได้ในธาตุอื่นทั้งหมด
 
ในการวิเคราะห์ธรรมชาติของผลลัพธ์ที่ได้จากการสลายตัว เป็นที่แน่ชัดจากแนวทางของ[[แรงแม่เหล็กไฟฟ้า]] ว่า [[รังสีแอลฟา]]มีประจุเป็นบวก [[รังสีบีตา]]มีประจุเป็นลบ และ[[รังสีแกมมา]]มีประจุเป็นกลาง จากผลการสะท้อนกลับ เป็นที่แน่ชัดว่า[[อนุภาคแอลฟา]]มีมวลมากกว่า[[อนุภาคบีตา]]มาก การปล่อยอนุภาคแอลฟาผ่านแผ่นกระจกหน้าต่างบางๆ และเก็บกักมันในหลอดปล่อยประจุ([[:en:Neon lamp|discharge tube]]) ทำให้นักวิจัยศึกษา[[การปลดปล่อยแถบแสง]]([[:en:Emission spectrum|emission spectrum]])ของก๊าซที่เกิดขึ้นได้ และ เป็นการพิสูจน์ในที่สุดด้วยว่า อนุภาคแอลฟาเป็นนิวเคลียสของ[[ฮีเลียม]] การทดลองอื่นแสดงว่า มีความคล้ายคลึงกันระหว่าง รังสีเบต้า และ [[รังสีแคโทด]]([[:en:Cathode ray|cathode ray]]) ทั้งสองเต็มไปด้วย[[อิเลคตรอนอิเล็กตรอน]] และ อยู่ระหว่างรังสีแกมมา และ รังสีเอ็กซ์ ซึ่งเป็น[[รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า]]([[:en:Electromagnetic radiation|electromagnetic radiation]])ที่มีพลังงานสูง
 
ถึงแม้ว่า แอลฟา, เบต้า และ แกมมา เป็นที่รู้จักแล้วก็ตาม ได้มีการค้นการสลายตัวแบบอื่นๆเพิ่มเติม ไม่นานหลังจากการค้นพบนิวตรอนในปีพ.ศ. 2475 [[เอนรีโก แฟร์มี]] ค้นพบว่า ในการสลายตัวที่เกิดขึ้นน้อยมากนั้นจะก่อให้เกิด [[นิวตรอน]] เช่นเดียวกับการสลายตัวของอนุภาค [[การปลดปล่อยโปรตอน]]([[:en:Proton emission|proton emission]])โดดเดี่ยวพบได้ในบางธาตุ หลังจากค้นพบ[[โพสิตรอน]]จากการก่อเกิดรังสีคอสมิค เป็นที่ทราบว่าในกระบวนการเดียวกันกับการสลายตัวแบบเบต้า สามารถก่อให้เกิดอนุภาคโพสิตรอนได้ด้วย([[:en:Positron emission|positron emission]]), ซึ่งอนุภาคนี้สามารถเรียกในอีกชื่อหนึ่งว่า อนุภาคตรงข้ามของอิเลคตรอนอิเล็กตรอน ซึ่งในการสลายตัวทั้งสองแบบของการสลายตัวแบบเบต้า จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียสที่จะปรับระดับสัดส่วนของ นิวตรอน และ โปรตรอน ให้อยู่ในระดับที่มีพลังงานต่ำที่สุด ท้ายที่สุด ในปรากฏการณ์ที่เรียกว่า [[การสลายตัวแบบกลุ่ม]]([[:en:Cluster decay|cluster decay]]) อนุภาคนิวตรอน และ อนุภาคโปรตรอน จำนวนหนึ่ง ถูกปลดปล่อยออกมาอย่างต่อเนื่องในปรากฏการณ์นี้ด้วย นอกจากอนุภาคแอลฟา
 
ยังมีการค้นพบการสลายตัวของของสารกัมมันตรังสีแบบอื่นๆ ที่สามารถปลดปล่อยอนุภาคที่กล่าวมาแล้วได้ แต่เกิดขึ้นจากกระบวนการที่แตกต่างออกไป ตัวอย่างเช่น [[:en:Internal conversion|internal conversion]] ซึ่งได้ผลลัพธ์เป็น อิเลคตรอนอิเล็กตรอน และ ในบางครั้ง [[โฟตอน]]พลังงานสูง ซึ่งในกระบวนการดังกล่าวไม่ได้เกิดการสลายตัวแบบเบต้า หรือ การสลายตัวแบบแกมมา เลยก็ตาม
 
== อ้างอิง ==