ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปอนด์สเตอร์ลิง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต แก้ไข: yo:Ponun Stelin
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink: modern use
บรรทัด 10:
ส่วนชิลลิงนั้น เขาใช้อักษรย่อว่า s เฉย ๆ ตัวอักษรนี้ไม่ได้ย่อจาก shilling แต่มาจาก solidus ในภาษาละติน สำหรับหน่วยเล็กสุด คือ เพนนีนั้น ย่อเป็น d เพราะในภาษาละตินนั้น หน่วยเล็กสุดของค่าเงินคือ denarius เราจึงอาจพบการเขียนบอกจำนวนเงินเป็น 2l. 8s. 5d. นั่นคือ 2 ปอนด์ 8 ชิลลิง กับอีก 5 เพนนี
 
สำหรับเหรียญชิลลิงนั้น มีค่าเท่ากับ 12 เหรียญดอลลาร์ เดิมเรียกว่าเทสทัน หรือเทสทูน (teston, testoon) เริ่มมีครั้งแรกเมื่อ [[พ.ศ. 2047]] มีการแกะสลักเป็นพระพักตร์ของพระเจ้าเฮนรีที่ 7 ครั้นในสมัยรัชกาลพระเจ้าเฮนรีที่ 8 ก็ยังคงใช้เหรียญค่านี้ แต่เรียกใหม่ว่า ชิลลิง ส่วนที่มาของชื่อนั้น จริงๆ แล้วยังไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่เข้าใจว่าเรียกตามเหรียญของพวกอังโกล-ซักซอน คือสคีลลิง (scilling, scylling) และบางรัฐของ[[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]]ก็มีการผลิตเหรียญกษาปณ์ที่เรียกว่า ชิลลิง (schilling) เหมือนกัน
 
ครั้นเมื่อ [[พ.ศ. 2464]] ค่าของชิลลิงเป็นแต่ชื่อเรียกเท่านั้น ไม่ได้มีการผลิตเหรียญเงินค่าชิลลิงออกมา และอีก 26 ปีต่อมา มีการผลิตเหรียญชิลลิง โดยใช้โลหะผสมระหว่าง[[ทองแดง]] และ[[นิกเกิล]] เรียกว่าโลหะคิวโพรนิเกิล เมื่อถึงวันที่ [[15 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2514]] อังกฤษได้เปลี่ยนมาตราเงินแบบเทียบร้อยตามหลักสากล คือ 100 เพนนี เป็น 1 ปอนด์ โดยไม่ใช้หน่วยชิลลิงอีก ทำให้อักษรย่อชิลลิงจึงหมดไป อักษรย่อเพนนี เปลี่ยนจาก d เป็น p ซึ่งย่อมาจากคำว่าเพนนี (penny) โดยตรง
บรรทัด 20:
ธนบัตรประกอบด้วย 5, 10, 20 และ 50 ปอนด์
 
== เหรียญดอลลาร์ ==
เหรียญประกอบด้วย 1, 2, 5, 10, 20, 50 เพนนี และ 1, 2 ปอนด์